โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ3เส้น
Triple vessel disease(TVD)
พยาธิสภาพ
หลอดเลือดหัวใจนี้แบ่งเป็นสองข้างคือ ข้างขวา (right coronary artery - RCA) กับข้างซ้าย (left coronary) ตัวข้างซ้ายแยกออกเป็นสองแขนง คือแขนงซ้ายวิ่งลงหน้าหรือ left anterior descending artery (LAD) กับแขนงซ้ายวิ่งอ้อมข้าง หรือ left circumflex artery (LCx) โรคนี้มีเกิดจากผนังหลอดเลือดแดงแข็งและหนาตัวขึ้น(Atherosclerosis) ซึ่งเกิดเนื่องจากการมีไขมันไปเกาะอยู่ภายในผนังหลอดเลือด เรียกว่า "ตะกรันท่อหลอดเลือด"(Artherosclerotic plaque) ซึ่งจะค่อย ๆ พอกหนาตัวขึ้นทีละน้อยจนช่องทางเดินของเลือดตืบแคบลง เลือดจึงไปเลี้ยงหัวใจได้น้อยลง หากปล่อยไว้นาน ๆ ตะกรันท่อหลอดเลือดที่เกาะอยู่ภายในผนังหลอดเลือดหัวใจจะเกิดการฉีกขาดหรือแตกออก เกล็ดเลือดก็จะจับตัวกันจนกลายเป็นลิ่มเลือดและอุดกั้นช่องทางเดินของเลือด ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดอยู่เป็นเวลานานจนเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจตาย ผู้ป่วยจึงเกิดอาการเจ็บแน่นหน้าอกอย่างรุนแรง ซึ่งเป็นภาวะฉุกเฉินและเป็นอันตรายถึงชีวิตอย่างเฉียบพลันได้ เรียกว่า "โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน" (Acute myocardial information)
การวินิจฉัย
แพทย์สามารถวินิจฉัยโรคหลอดเลือดหัวใจในเบื้องต้นได้จาก
ประวัติ (เช่น ประวัติการสูบบุหรี่ การรับประทานอาหารการออก
กำลังกาย โรคประจำตัวประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว)
-การตรวจเลือดเพื่อวัดระดับเอนไซม์ใน
อาการที่แสดงหัวใจ (Cardiac Enzyme Test)ในการตรวจสอบ
ความเสียหายของกล้ามเนื้อ
-การเอ็กเรย์ทรวงอก ใช้ตรวจดูสาเหตุและอาการต่างๆ ที่เกิดขึ้นบริเวณหัวใจ ปอดและผนังทรวงอก
-การเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT scan)
-การสร้างภาพด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI)
-การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ : (EKG)
อาการและอาการแสดง
สาเหตุ
โรคเบาหวาน
โรคไขมันในเลือดสูง
โรคความดันโรคหิตสูง
อายุที่เพิ่มมากขึ้น
-มีอาการเหนื่อยง่ายในขณะออกแรงหรือออกกำลังกายที่เกิดขึ้นเฉียบพลันภายใน 1-2 สัปดาห์ หรือที่เกิดขึ้นเรื้อรังเกินกว่า 3สัปดาห์ขึ้นไป
-ถ้าาหลอดเลือดตีบตันมากขึ้น ผู้ป่วยจะมีอาการของโรคหัวใจขาดเลือดชั่วขณะ ดังนี้ ผู้ป่วยจะมีอาการปวดเค้นอกคล้ายมีอะไรมากดทับหรือจุกแน่นบริเวณกลางอกหรือยอดอก ซึ่งมักจะเจ็บร้าวมาที่ไหล่ซ้ายด้านในของแขนซ้าย บางรายอาจร้าวมาที่คอ ขากรรไกรหลัง หรือแขนขวา และในขณะที่มีอาการเจ็บหน้าอก ผู้ป่วยอาจมีอาการใจสั่นเหนื่อยหอบ เหงื่อออก เวียนศีรษะ คลื่นไส้ร่วมด้วยได้
-เมื่อหลอดเลือดอุดตัน ผู้ป่วยจะมีอาการของโรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย ดังนี้ ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะมีอาการเจ็บหน้าในลักษณะเดียวกันกับโรคหัวใจขาดเลือดชั่วขณะแต่จะมีอาการเจ็บรุนแรงและต่อเนื่องนานเป็นชั่วโมงหรือเป็นวัน ๆ มีอาการอ่อนเปรี้ยเพลียแรงจสั่น เวียนศีรษะคลื่นไส้ อาเจียน ร่วมด้วยถ้าเป็นรุนแรงจะมีอาการหายใจหอบเหนื่อย
การรักษา
การรักษาด้วยยา
การรักษาด้วยการผ่าตัด
CABG ผ่าตัดทำทางเยงหลอดเลือดหัวใจ การผ่าตัดทำทางเบี่ยงของหลอดเลือดหัวใจหรือี่นิยมเรียกกันว่า การผ่าตัดบายพาส (CABG-Coronary Artery Bypass Grafting) เป็นการผ่าตัดทำทางเบี่ยงของทางเดินเลือดใหม่เพื่อให้เลือดไหลเวียนไปเลี้ยงหัวใจในเส้นทางใหม่โดยแพทย์จะต้องใช้หลอดเลือดเสริม (Graft) ด้านหนึ่งไปต่อที่ใต้จุดของหลอดเลือดหัวใจแดงเดิมที่มีการตีบหรือตันและอีกด้านหนึ่งไปต่อกับหลอดเลือดแดงใหญ่(Aorta)ส่งผลให้เลือดจากหลอดเลือดแดงใหญ่เดินทางไปตามหลอดเลือดแดงเสริมเพื่ออ้อมการอุดต้นและไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจได้ในที่สุด
-Aspirin
-Warfarin
กรณีศึกษา
-ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว : มารดาเป็นโรคหัวใจ
-ได้รับการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ : (EKG)
ผลตรวจ mild ST Abnormal, sinus bred HR 50/min :
กรณีศึกษา อายุ67ปี มีโรคประจำตัวเป็นโรคความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวาน และโรคไขมันในเลือดสูงเป็นมา10ปี
กรณีศึกษา
-อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล : แน่นหน้าอกจุกเสียวใต้ลิ้นปี่ร้าวไปที่ศีรษะ ตรวจพบ TVD 1เดือน
-อาการแรกรับ : รู้สึกตัวดี มีอาการหายใจเหนื่อยหอบบางครั้ง เวลามีกิจกรรม ลุกเดิน
กรณีศึกษา
-ได้รับการผ่าตัดCABGx3 (Coronary Artery Bypass Grafting: CABG)
วันที่29 สิงหาคม 2565
กรณีศึกษา
-ได้รับยา ASPIRIN 81mg หลังรับประทานอาหารเช้า