Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวทางการดำเนินงานอาชีวอนามัย, นางสาวปภาวรินทร์ ผดุงจิตร์ รหัสนักศึกษา…
แนวทางการดำเนินงานอาชีวอนามัย
ความหมาย และความสำคัญของงานอาชีวอนามัย
อาชีวอนามัย หมายถึง สุขภาพอนามัยของผู้ประกอบอาชีพทุกภาคส่วนของประเทศ ควรจะมีสภาวะที่สมบูรณ์ดีทั้ง ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สัมพันธภาพ และสถานภาพในสังคม
การบริการอาชีวอนามัยคืองานอาชีวอนามัยที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและการ ธำรงรักษาไว้ซึ่ง สุขภาพอนามัยที่แข็งแรงสมบูรณ์ปลอดภัยของผู้ประกอบอาชีพไม่มี โรคภัยไข้เจ็บรวมทั้งอุบัติเหตุหรือ ความเสี่ยงในการเกิดอันตรายจากการปฏิบัติงาน
หลักการป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ
การควบคุมและป้องกันที่สิ่งแวดล้อมด้วยการตระหนักถึงความปลอดภัยเป็นอันดับ แรกด้วยวิธีการจัดระเบียบสถานที่ทางานการดูแลตรวจสอบระบบควบคุม กระบวนการผลิตอุณหภูมิในที่ ทำงาน การรักษาความสะอาด เครื่องมืออุปกรณ์ การปรับสภาพแวดล้อมของการทางานให้ถูกสุขลักษณะ
การควบคุมป้องกันด้านตัวบุคคล เพื่อส่งเสริมศักยภาพของแต่ละบุคคลและเพื่อความ ปลอดภัยในการทางานสูงสุด
2.1 การให้การศึกษาและฝึกอบรม แนะนำ ความรู้ความเข้าใจด้านสุขภาพ อนามัย และความปลอดภัย
2.2 ควบคุมและป้องกันทางด้านการแพทย์โดยวิธีการตรวจสุขภาพ ทั้งก่อนเข้าทำงาน
การบริหารจัดการ สถานประกอบการควรได้มีการบริหารจัดการเกี่ยวกับการควบคุม ป้องกันโรค หรืออันตรายจากการประกอบอาชีพ
3.1 แบ่งการทำงานเป็นกะ หรือหมุนเวียนตาแหน่งคนงานผลัดเปลี่ยนในแต่ละฝ่าย
3.2 แยกแยะส่วนการทำงานของคนงานกับส่วนพื้นที่อันตราย
3.3 การพยายามหาสารที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงหรือเป็นอันตรายน้อยกว่า ทดแทนสารหรือวัตถุที่เป็นพิษหรืออันตรายมากกว่า
3.4 การเลือกใช้กระบวนการทำงานในขั้นตอนการผลิตที่เป็นอันตรายน้อยกว่า
3.5 ใช้วิธีปิดคลุมกระบวนการที่มีพิษหรืออันตราย หรือใช้อุปกรณ์เครื่องมือ เครื่องจักรอัตโนมัติในการทางานที่มีสารพิษหรืออันตราย
3.6 แยกกระบวนการที่เป็นอันตรายหรือเป็นพิษออกเป็นพื้นที่เฉพาะและกำหนด ระเบียบปฏิบัติเวลาการเปิดปิดการเข้าออก
3.7 การใช้ระบบระบายอากาศทั้งแบบเฉพาะที่และแบบทั่วไป เพื่อดูดอากาศเสียและ ระบายอากาศทั่วไป
3.8 การใช้ระบบเปียกชื้นป้องกันการฟุ้งกระจายในกระบวนการทำงาน
3.9 การตรวจสภาพการทางาน ติดตั้งสัญญาณเตือนภัย หรือเพิ่มระยะทาง ระหว่าง แหล่งอันตรายให้ห่างจากที่ทำงานที่มีคนจานวนมาก
3.10 การเฝ้าระวังโรคเพื่อทราบข้อมูลสาเหตุและปัจจัยของการเกิดโรคได้ อย่างรวดเร็ว จะเป็นประโยชน์ สำหรับการควบคุมป้องกัน
บทบาทและหน้าที่ของพยาบาลในงานอาชีวอนามัย
1.ช่วยงานบริหารทั่วไป : การจัดหาเครื่องมือเวชภัณฑ์ในสถานพยาบาลของโรงงาน
ช่วยตรวจร่างกายก่อนทำงาน ระหว่างการทำงาน
3.ให้บริการพยาบาล : ฉุกเฉิน/ปฐมพยาบาล ต่อเนื่อง 4 มิติ
4.ให้สุขศึกษา/คำปรึกษาแนะแนว
5.ช่วยตรวจสิ่งแวดล้อมในการทำงาน เช่น การใช้เครื่องป้องกันต่างๆ
6.บันทึกและเก็บรวบรวมสถิติรายงาน
7.การประสานงาน นายจ้าง-ลูกจ้างหน่วยงานอื่น-ร.พ./ประกันสังคม
แนวทางการดำเนินงานอาชีวอนามัย
1.ส่งเสริมสุขภาพ
2.การป้องกันโรค
3.การรักษาพยาบาลและการส่งต่อ
4.การฟื้นฟูสภาพ
ขอบเขตของงานอาชีวอนามัย
(World Health Organization : WHO
การส่งเสริมและธำรงรักษาไว้ ซึ่งสุขภาพดีของคนงานทุกอาชีพทั้งร่างกายและจิตใจที่แข็งแรง สมบูรณ์ และความเป็นอยู่ที่ดีในสังคม
การป้องกัน เป็นกระบวนการที่มีจุดหมายให้จัดการป้องกัน ไม่ให้คนงานมีการได้รับอันตราย เจ็บป่วย หรือเสื่อมโทรมตลอดจนเกิดอาการผิด เนื่องจากสภาพการทำงานที่เสี่ยงต่ออันตรายหรือการเกิดโรคภัยไข้เจ็บ
การคุ้มครองคนงาน งานที่จัดขึ้นต้องมีระบบปกปูองคุ้มครองมิให้ได้รับการเสี่ยงอันตราย
จัดคนงานให้ได้ทางานในลักษณะงาน สิ่งแวดล้อมการทางานที่เหมาะสม
มีการจัดปรับงานให้เข้ากับคนและจัดปรับคนให้เข้ากับงาน
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัย
พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537
พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541
พระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2558)
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535
พระราชบัญญัติ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. 2554
ระเบียบกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานว่าด้วยพนักงานกองทุนเพื่อผู้ใช้แรงงานพ.ศ. 2553
นางสาวปภาวรินทร์ ผดุงจิตร์ รหัสนักศึกษา 631201128
นักศึกษาพยาบาล ชั้นปีที่ 3