Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประมวลผลข้อมูล - Coggle Diagram
การประมวลผลข้อมูล
2.การวิเคราะห์ปัญหา
เป็นการทำความเข้าใจปัญหาเเละกำหนดสาระสำคัญของปัญหาเเละข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียดการดำเนินงาน
การกำหนดข้อมูลหลักที่ใช้ประมวณผล
การกำหนดปริมาณข้อมูลที่ต้องรวบรวมให้มีปริมาณที่เพียงพอ
การกำหนดกรอบเวลาในการรวบรวมข้อมูล
ชนิดของข้อมูล
ตัวเลข
ข้อมูลที่นำไปคำนวณได้
จำนวนเต็ม
ทศนิยม
ตัวอักขระ
ข้อมูลที่นำไปคำนวณไม่ได้
เช่น ชื่อ เบอร์โทร ที่อยู่
วันที่
ข้อมูลที่ประกอบด้วยวัน เดือน ปี
เช่น 1/10/2013 ,1/10/2556
เวลา
ข้อมูลที่ประกอบด้วยชั่วโมง นาที วินาที
เช่น 9 Am. , 9.00 น.
ข้อมูลทั้งหมดที่ต้องเก็บ + กรอบเวลา
5.การประมวลผลข้อมูล
การดำเนินการเกี่ยวกับข้อมูลเพื่อให้ได้สารสนเทศตามวัตถุประสงค์
การนำข้อมูลที่รวบรวมได้มาวิเคราะห์ + หาข้อสรุป
การวิเคราะห์เชิงพรรณนา (Descriptive Analysis)
เป็นการวิเคราะห์คุณลักษณะของชุดข้อมูลที่สนใจ โดยใช้"ค่าสถิติ"
ค่าสถิติที่นิยมใช้
1.ค่าเฉลี่ย
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูล
2.มัธยฐาน
ค่าที่อยู่กึ่งกลางของข้อมูล
3.ฐานนิยม
ค่าที่ซ้ำกันสูงสุดของชุดข้อมูล
4.ร้อยละ
ค่าของข้อมูลเมื่อคิดเป็นสัดส่วนจากทั้งหมดของข้อมูลเทียบ 100%
5.ความถี่
จำนวนซ้ำกันของข้อมูลในเเต่ละชุดข้อมูล
6.พิสัย
ค่าสูงสุด-ต่ำสุด ของชุดข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลเเบบอื่น
การวิเคราะห์เชิงอนุมาน
หาข้อมูลจากบางส่วนเเล้วนำไปคิดเป็นของทั้งหมด
การวิเคราะห์เชิงทำทาย
วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อทำนายอนาคต
การวิเคราะห์เชิงปัญญา
เป้นการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ที่นำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล
3.การรวบรวมข้อมูล
คือการได้มาซึ่งข้อมูลที่ครบถ้วน และจำเป็นต่อการเเก้ปัญหา
ขั้นตอนการรวบรวมข้อมูล
การกำหนดเเหล่งข้อมูล
ปฐมภูมิ (เก็บจากแหล่งข้อมูลโดยตรง)
ทุติยภูมิ (นำมาจากแหล่งอื่นที่มีผู้รวบรวมไว้แล้ว)
การกำหนดวิธีการรวบรวมข้อมูล
การสังเกต
การสำรวจสอบถาม
การสัมภาษณ์
การสนทนากลุ่ม
การกำหนดวิธีจัดเก็บข้อมูลที่รวบรวมได้
การสำรวจ - เเบบสำรวจ
การสัมภาษณ์ - เเบบสัมภาษณ์
การสังเกต - เเบบสังเกต
กำหนดเเหล่งข้อมูล + วิธีเก็บรวบรวม + เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ
1.การนิยามปัญหา
เป็นการตั้งคำถามที่สนใจและต้องการหาคำตอบ
ปัญหาต้องกระชับเเละชัดเจนอะไรที่ีไม่เกี่ยวข้องก็ไม่ต้องนิยาม
ปัญหาที่ต้องการเเก้ไข + ปัญหาที่เกี่ยวข้อง + เงื่อนไขของปัญหา
4.การเตรียมข้อมูล
การดำเนินการพร้อมกับข้อมูลที่รวบรวมมา เพื่อให้เป็นข้อมูลที่มีคุณภาพ พร้อมทั้งนำไปประมวลผล
เเนวทางการตรวจความผิดปกติของข้อมูล
ความสมบูรณ์
ข้อมูลเรื่องเดียวกันต้องเก็บในรูปแบบเดียวกัน
รูปแบบเดียวกัน
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องต้องถูกรวบรวมอย่างครบถ้วน
ความครบถ้วน
ข้อมูลมีค่าสอดคล้องกับเวลา/สถานการณ์
ความทันสมัย
ต้องสอดคล้องกับชนิดข้อมูล
สอดคล้องกับความจริง
ข้อมูลบางอย่างจะมีค่าไม่ซ้ำกัน
ข้อมูลบางอย่างจะมีค่าไม่เป็นค่าว่าง
ไม่มีค่าผิดไปจากข้อมูลอื่น
เเนวทางการเเก้ไขข้อมูลที่ผิดพลาด
ปรับให้ตรงกับรูปแบบ
เเก้ไขโดยอ้างอิงจากข้อมูลอื่น
ลบข้อมูลนั้นทิ้ง
6.การนำเสนอข้อมูล
การนำเสนอข้อสรุปจากการประมวลผลในรูปแบบที่สื่อความหมายอย่างชัดเจน