Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2546 - Coggle Diagram
พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2546
:pen:
หมวดที่ 1 สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
มี 6 ส่วน
ส่วนที่ 1 บททั่วไป
สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
เรียกว่า "คุรุสภา" คุรุสภาเป็นนิติบุคคล
วัตถุประสงค์ มาตร ออก เพิก / นโยบาย / ส่งเสริม
กำหนดมาตรฐานวชิาชีพ ออกและเพิกถอนใบอนุญาต กำกับ ดูแลการปฏิบีติตามมาตรฐานวชิาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ รวมท้งัการพัฒนาวิชาชีพ
กำหนดนโยบายและแผนพัฒนาวิชาชีพ
ประสาน ส่งเสริมการศึกษาและการวิจัยเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ
อำนาจหน้าที่ของครุสภา
กำหนดมาตรฐานวิชาชีพ
ควบคุมความประพฤติกรรมและดำเนินงานของ
ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
ออกใบอนุญาต
พักใช้ใบอนุญาต หรือเพิกถอนใบอนุญาต
ส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาวิชาชีพ
รับรองปริญญา ประกาศนียบัตรของสถาบัน
ออกข้อบังคับคุรุสภา
รับรองความรู้และประสบการณ์ทางวิชาชีพ
ส่งเสริมการศึกษาและการวจิยัเกี่ยวกบัการประกอบวิชาชีพ
เป็นตัวแทนผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาของประเทศไทย
ส่วนที่ 2 คณะกรรมการคุรุสภา
จำนวน 12 คน ประกอบด้วย (เดิมมี 39 คน)
รัฐมนตรีว่าที่กระทรวงศึกษาศึกษา ประธานกรรมการ
เลขาธิการคุรถสภา (เดิมเป็นแค่เลขานุการ) กรรมการและเลขานุการ
มีอำนาจหน้าที่ พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ คำสั่งของคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
มีการประชุม อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
มติให้ถือเสียงมาก
รายได้
ค่าธรรมเนียมตามพระราชบัญญัติ
เงินอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน
ผลประโยชน์จากการจัดการทรัพย์สินและ การดำเนินกิจการของคุรุสภา
เงินและทรัพย์สินซึ่งมีผู้อิศให้แก่คุรุสภา
ดอกผลของเงินและทรัพย์สินตาม
ส่วนที่ 3 คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
17 คน
เลขาธิการคุรุสภา เป็นกรรมการและเลขานุการ
ให้อยู่ในตำแหน่งคราวละ 4 ปี และอาจได้รับการแต่งตั้งอีกเกิน 2 วาระ ติดต่อกันไม่ได้
มีอำนาจและหน้าที่ดังต่อไปนี้
พิจารณาการออก/พักใช้เ/พิก ถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
ส่งเสริม ยกย่องและพัฒนาวิชาชีพ ไปสู่ความเป็นเลิศในสาขาต่างๆ
ส่วนที่ 4 การดำเนินงานของคุรุสภา
เป็นผู้กำหนดอัตราเงินเดือน และประโยชน์ตอบแทนอื่นของเลขาธิการคุรุสภา โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
เป็นผู้มีอำนาจสรรหา แต่วตั้ง และถอดถอน เลขาธิการคุรุสภา
ส่วนที่ 5 การประกอบวิชาชีพควบคุม
ให้วิชาชีพ ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา เป็นวิชาชีพคงบคุมตามพระราชบัญญัตินี้
วิชาชีพควบคุมอื่นนอกจากนี้ (ศึกษานิเทศก์) มห้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
ผู้ได้รับการยกเว้นในการประกอบวิชีพควบคุม (ไม่ต้องมีใบอนุญาตก็ได้)
ผู้ที่เข้ามาให้ความรู้ในสถานสึกษาเป็นครั้งคราว ในฐานะ
วิทยากรพิเศษ
ทางการศึกษา
ผู้ที่จัดการศึกษาตามอัธยาศัย
ผู้ที่ไม่ได้ประกอบวิชาชีพหลักทางด้านการศึกษา ทางด้านการเรียนการสอน แตบางครั้งต้องสอนด้วย
นักเรียน นักษึกษา / ผู้รับการฝึกอบรม/ ผู้ได้รับใบขออนุญาตการสอน
ผู้ที่ทำหน้าที่สอนในศูนย์การเรียน
คณาจารย์ ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา ในอุดมศึกษาระดับปริญญารัฐ/เอกชน
ผู้บริหารการศึกษาระดับเหนือเขตพื้นที่การศึกษา
บุคคลอื่นตามที่คณะกรรมการคุรุสภากำหนดได้แก่
พระภิกษุ
ผู้สอนตามโครงการแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศ
ตำรวจตระเวนชายแดน
ผู้ที่ทำหน้าที่สอน/บริหารในร.ร.เตรียมทหาร
ผู้ขอรับใบอนุญาต
ลักษณะต้องห้าม
เป็นผู้มีความประพฤติเสื่อมเสีย / บกพร่องในศีลธรรม
เป็นคนไร้ความสามารถ
เคยลงโทษจำคุก
คุณสมบัติ
มีอายุไม่ต่ำกว่า 20 ปี บริบูรณ์
มีวุฒิปริญญาทางการศึกษา
ผ่านการปฎิบัติการสอนในสถานศึกษา เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ 4 ประเภท
การขอขึ้นทะเบียน ยื่นต่อเลขาธิการคุรุสภา
ครู
ผู้บริหารสถานศึกษา
ผู้บริหารการศึกษา
ศึกษานิเทศก์
ผู้ลงนามในใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
ประธานกรรมการคุรุสภา
ผู้ลงนามในบัตรประจำตัวสมาชิกคุรุสภา
เลขาธิการคุรุสภา
การขอรับ การออก การกำหนดอายุ การต่ออายุใบอนุญาต การขอรับใบแทนใบอนุญาต การอกใบแทนใบอนุญาต
คณะกรรมการมารตรฐานวิชาชีพพิจารณาวินิจฉัย
ไม่ออกใบอนุญาต / ไม่ต่ออายุใบอนุญาต /
ไม่ออกใบแทนใบอนุญาต
ให้อุทธรณ์คำสั่งต่อคณะกรรมการคุรุสภา
ภายใน 30 วัน นับตั้งแต่วันที่ได้รับแจ้ง
ให้มีบังคับว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ
ประกอบด้วย รู้ / งาน / ตน
มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ
มาตรฐานการปฏิบัติงาน
มาตรฐานการปฏิบัติตน (จรรยาบรรณของวิชาชีพ)
การกำหนดระดับคุณภาพของมาตรฐานในการประกอบอาชีพ
ให้เป็นไปตามข้อบังคับของคุรุสภา
ความรู้ ความสมชามารถ และความชำนาญการ
มาตรฐานการปฏิบัติตน
จรรยาบรรณต่อตนเอง
จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
จรรยาบรรณต่อสังคม
ส่วนที่ 6 สมาชิกคุรุสภา
มี 2 ประเภท
สมาชิกสามัญ
สมาชิกกิตติมศักดิ์ เป็นผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งคณะกรรมการคุรุสภาแต่งตั้ง โดยมติเป็นเอกฉันท์
:pencil2: ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เมื่อ 11 มิ.ย.2546 มีผลบังคับใช้12 มิ.ย.2546
:pen:
หมวดที่ 2 คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ส่วนที่ 1 บททั่วไป
คณะกรรมการสกสค. จำนวน 9 คน (เดิมมี 23 คน) ประกอบด้วย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ประธานกรรมการ
เลขาธิการคณะกรรมการสกสค. กรรมการเลขานุการ
ส่วนที่ 2 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
มีฐานะเป็นนิติบุคคล ในกำกับกระทรวงศึกษาธิการ
เงินอุด
หนุน
จากงบประมาณแผ่นดิน
เงินค่าบำรุงและค่าธรรม
เนียม
ต่างๆ
เงินผลประ
โยชน์
ต่างๆ จากการลงทุนและการจัดหาผลประโยชน์
เงินอุดหนุนจากภาคเอกชน / องค์กรอื่นรวมทั้งจากประเทศ / องค์กรระหว่างประเทศและเงิน / ทรัพย์สินที่มีผู้อุ
ทิศ
ให้
ผล
ประโยชน์จากการจัดการทรัพย์สินและการดำเนินกิจการของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ดอก
ผลของเงินและทรัพย์สิน
ส่วนที่ 3 การกำกับดูแล
ให้สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
ตรวจสอบ
การปฏิบัติงานด้านการเงินการบัญชีของคุรุสภาเป็นประจำทุกปีแล้วรายงานให้ รัฐสภาทราบ
ส่วนที่ 4 บทกำหนดโทษ
ผู้ใดประกอบวิชาชีพ โดยไม่ได้รับใบอนุญาต
ต้องระวางโทษ
จำคุกไม่เกิน 1 ปี / ปรับไม่เกิน 20,000 บาท / ทั้งจำทั้งปรับ
ผู้ใดแสดงให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตนมีสิทธิ / พร้อมจะประกอบวิชาชีพ โดยไม่ได้รับใบอนุญาต
สถานศึกษา รับผู้ที่ไม่มีใบอนุญาตเข้าประกอบวิชาชีพควบคุมในสถานศึกษา
ผู้ใดที่อยู่ในระหว่างสักพักใช้ใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพ
ต้องระวางโทษ
จำคุกไม่เกิน 3 ปี / ปรับไม่เกิน 60,000 บาท / ทั้งจำทั้งปรับ
หลักการจำ
แสดง / รับผู้ไม่มีใบ/ ถูกสั่งพักแล้วประกอบ
สอนโดยไม่มีใบ
ส่วนที่ 5 บทเฉพาะกาล
กำหนดให้คณะกรรมการอำนวยการคุรุสภาตามพระราชบัญญัติครู พุทธศักราช 2488 ปฏิบัติหน้าที่คณะกรรมการคุรุสภาและคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการครูและบุคลากรทางการศึกษาไปก่อน จนกว่าจะแต่งตั้งคณะกรรมการให้แล้วเสร็จภายใน 180 วัน
:red_flag:
มาตราที่ 4
“กระทรวง” หมายความว่า กระทรวงการศึกษาธิการ
:pencil2:
“วิชาชีพ”
หมายความว่า วิชาชีพทางการศึกษา ทำหน้าที่หลักทางด้านการเรียนการสอนและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีการต่างๆ
:pencil2:
“ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา”
หมายความว่า ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษาและบุคลากรทางการศึกษาอื่น ซึ่งได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
:pencil2:
“ครู”
หมายความ บุคคลซึ่งประกอบอาชีพหลักทางด้านการเรียนการสอนและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน
:pencil2:
“หน่วยงานการศึกษา”
หมายความว่า สถานศึกษาหรือหน่วยงานอื่นที่ทำหน้าที่ กำกับดูแล สนับสนุน ส่งเสริมให้บริการเกี่ยวกับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานและอุดมศึกษาต่ำกว่าปริญญาทั้งภาครัฐและเอกชน
“ใบอนุญาต” หมายความว่า ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
มี 4 หมวด 90 มาตราและบทเฉพาะกาล
นางสาวรอฮานี วาเย๊าะแซ 651790049
นางสาวฮาพีซา เบงมูงอ 657190060