Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลมารดาและทารกในระยะที่ 2,3
และ 4 ของการคลอด
(นางสาวนิภาธร คำวัง…
การดูแลมารดาและทารกในระยะที่ 2,3
และ 4 ของการคลอด
(นางสาวนิภาธร คำวัง 63010136 กลุ่ม03)
-
-
3.การพยาบาลมารดาในระยะที่ 3 ของการคลอด
(การลอกตัวของรก การทำคลอดรก การตรวจรก
และการใช้ยาเพิ่มการหดรัดตัวของมดลูก)
การเปลี่ยนแปลงทางสรีระ
การลอกตัวของรก
-
Duncan's mechanism พบ 30% รกเริ่มลอกตัวบริเวณริมกก มองเห็นเลือดไหลออกมาทางช่องคลอด ตรวจรกอย่างระมัดระวัง เสี่ยงต่อการมีรกและเยื่อมหุ้มเด็กค้างอยู่ในโพรงมดลูก
อาการแสดง
-
Cord sign
เคลื่อนต่ำของสายสะดือ 8-10 cm. สายสะดืออยู่นอกช่องคลอดโผล่ออกมายาวมากขึ้น เหี่ยว คลายเกลียว คลำชีพจรไม่ได้
-
กลไกที่ทำให้เลือดหยุด
มดลูกหดรัดตัว ส่งผลให้เกิดการบีบรัดของหลอดเลือดให้หักงอ ทำให้เลือดบริเวณที่รกลอกตัวหยุดอย่างรวดเร็ว
"Living ligature action"
-
-
-
การตรวจรก
การตรวจสายสะดือ
- ดูปลายหลอดเลือด
- ความยาวสะดือ 30-100 cm. เฉลี่ย 50 cm.
- ปมที่สายสะดือ มี 2 แบบ
Fasle knot ไม่มีอันตราย เป็นปมและกระจุก
True knot ปมเหมือนผูกเชือก ถ้าผูกแน่น ทารกขาดออกซิเจนตายในครรภ์ได้
-
การตรวจเยื่อหุ้มทารก
-
ชั้น Amnion
เยื่อหุ้มทารกชั้นในที่หุ้มตัวทารก สายสะดือ น้ำคร่ำ มีลักษณะมัน ขาวขุ่น เหนียว ยางและใสกว่า Chorion ไม่มีการฉีดขาดหลุดค้างในโพรงมดลูก เพราะไม่ติดกับผนังมดลูก
สิ่งที่ต้องตรวจ
- ความห่างของรอยแตกของเยื่อหุ้มทารกถึงขอบ
- เยื่อหุ้มทารกทั้งสองชั้นออกมาครบและสมดุลกันหรือไม่
การตรวจรกด้านมารดา
Cotyledon
ก้อนๆ สีแดงเหมือนลิ้นจี่ ลอกออกมาเป็นแผ่นเดียวกันใช้มือประกบเนื้อรกเข้าหากัน แล้วดูว่ามีรอบแหว่งหรือไม่
-
-
รกผิดปกติ
-
-
-
Placenta membranacea
รกที่มีลักษณะเป็นแผ่นกว้างใหญ่และบางกว่าปกติ ทำให้การลอกตัวของรกไม่ดี มักตกค้างในมดลูก อาจเกิดภาวะเลือดออกจากรกเกาะต่ำ รกค้างในโพรงมดลูก ตดเลือกหลังคลอดสูง
Placenta Circumvallata
รกที่มี Chorionic plate เล็กกว่าปกจิมาก มองเห็น Closing ring หนา ทำให้เกิดการแท้ง คลอดก่อนกำหนด รกลอกตัวก่อนกำหนด
-
-
-
-
-
-