Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ, 9FC97D8A-777F-4399-AB11-8A5071983A81,…
หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ
มารยาทชาวพุทธ
การแสดงความเคารพต่อพระรัตนตรัย
:พระรัตนตรัยหมายถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
วิธีแสดงความเคารพพระรัตนตรัย คือ การกราบเบญจางคประดิษฐ์ เป็นการกราบด้วยอวัยวะให้ครบทั้ง5ส่วนจดกับพื้น คือ มือ2 เข่า2 หน้าผาก1
ขั้นตอนการกราบพระรัตนตรัย
ท่าเตรียม
ชายนั่งท่าเทพพระบุตร
หญิงนั่งท่าเทพธิดา
จังหวะที่1
จังหวะที่2
จังหวะที่3
การแสดงความเคารพต่อปูชนียสถาน
ปูชนียสถาน หมายถึง สถานที่อันควรแสดงความเคารพ ได้แก่ โบสถ์ วัด ศาสนสถาน
วิธีแสดงความเคารพต่อปูชนียสถาน
1.ถ้าเป็นสถานที่ที่มีพระพุทธรูปมีพื้นที่เหมาะสมที่จะแสดงความเคารพได้อย่างสะดวกให้ใช้วิธีกราบเบญจางคประดิษฐ์
2.ถ้าเป็นสถานที่ที่ไม่เหมาะแก่การกราบให้ใช้วิธีประนมมือไหว้
การแสดงความเคารพต่อปูชนียบุคคล
ปูชนียบุคคล หมายถึง บุคคลที่ควรแสดงความเคารพ
1.การกราบ
การกราบพระให้กราบเบญจางคประดิษฐ์
การกราบบิดา มารดา ครูอาจารย์
2.การไหว้
การไหว้พระสงฆ์(ขณะยืน)
การไหว้บิดามารดา(ขณะยืน)
การไหว้ผู้ใหญ่
การรับไหว้
การปฏิสันถารตามหลักปฏิสันถาร
การปฏิสันถาร หมายถึง การต้อนรับแขก การทักทายปราศรัย
ในทางพระพุทธศาสนามีการปฏิสันถาร2แบบ
อามิสปฏิสันถาร คือ การต้อนรับด้วยสิ่งของ เช่นเครื่องดื่มหรืออาหาร
ธรรมปฏิสันถาร คือ การต้อนรับด้วยธรรม หมายถึง การต้อนรับที่ทำพอดีพอควรกับฐานะของแขก
หน้าที่ชาวพุทธ
หน้าที่ชาวพุทธ คือ สิ่งที่ชาวพุทธทั่วไปต้องเรียนรู้ เพื่อจะได้ทราบเเละปฎิบัติตนได้ถูกต้อง
การบรรพชาเเละอุปสมบทในพระพุทธศาสนา
การบรรพชาแปลว่าการเว้นจากความชั่วทุกอย่างเดิมคำว่าบรรพชาหมายความว่าการบวชเป็นภิกษุ** !
อุปสมแปลว่าการเข้าถึงสวาวะอันสูงหมายถึงการบวชเป็นพระภิกษุ
ประเภทของการบรรพชาเเละอุปสมบท
๑. เอหิภิกขุอุปสัมปทา
๒. ติสรณคมนูปสัมปทา
๓. โอวาทปฏิคคหณูปสัมปทา
๔. ปัญหาพยากรณูปสัมปทา
๕. ครุธรรมปฎิคคหณูปสัมปทา
๖. ทูเตนอุปสัมปทา
๗. อัฏฐวาจิกาอุปสัมปทา
๘. ญัตติจตุตถกัมมอุปสัมปทา
ประโยชน์ของการบรรพชาเเละอุปสมบท
๑.เพื่อเรียนรู้พระธรรมวินัยฝึกฝนพัฒนาตนเอง
๓. เพื่อฝึกฝนอบรมให้รู้จักอดทนอดกลั้นในอดีตผู้ที่บวชเรียนแล้วจะเรียกว่าทิศซึ่งมาจากคำว่าบัณฑิต
๔.เพื่อดำรงตนให้เป็นพลเมืองดีของสังคม
๒.เพื่อสืบทอดอายุพระพุทธศาสนาให้ยืนยาวต่อไป
การบวชเป็นชี ธรรมจาริณี หรือเนกขัมมนารี
ชี หมายถึง สตรีผู้นุ่งขาวห่มขาว โกนผม โกนคิ้ว สมาทานเเละรักษาศีล ๘
ธรรมจาริณี หรือ เนกขัมมนารี หมายถึง สตรีที่นุ่งขาวห่มขาว ไม่โกนผม ไม่โกนคิ้ว สมาทานและศีล ๘
วิธีการบวช
๑. ผู้ขอบวชต้องแต่งกายชุดขาวห่มสไบขาว
๒. ตัวแทนผู้ขอบวชถวายธูปเทียนแด่แด่พระสงฆ์จำนวน 1 รูปหรือ 4 รูปขึ้นไป
๓. กราบ 3 ครั้ง
๔. กล่าวคำบูชาพระรัตนตรัย
๕. กล่าวคำอาราธนาศีล 8
๖. รับไตรสรณคมน์
๗. สมาทานศีล 8
๘. นำเครื่องสักการะไปถวายพระอาจารย์ รับฟังโอวาท เป็นอันเสร็จพิธี
การปลูกจิตสำนึกและการมีส่วนร่วมในสังคมพุทธ
สังคมหมายถึงการอยู่ร่วมกันของสมาชิกที่มีปฏิสัมพันธ์กันและมีหน้าที่สร้างสมาชิกใหม่ถ่ายถอดลักษณะ ประเพณี ความเชื่อของสังคมเพื่อสืบทอดสังคมต่อไป
สังคมพุทธหมายถึงการอยู่ร่วมกันของพุทธบริษัท4ได้แก่ ภิกษุ ภิกษุณี(ปัจจุบันสูญไปแล้ว) อุบาสก อุบาสิกา
หรืออาจกล่าวได้ว่าสังคมพุทธประกอบด้วยบุคคล2ประเภท
1.ภิกษุ
2.คฤหัสถ์หรือชาวบ้าน
วิธีการช่วยให้สังคมพุทธดำรงสืบต่อไป
1.การบวช
2.การศึกษาคำสอนและปฏิบัติตามคำสอน
3.เผยแผ่คำสอน
4.ปกป้องและรักษาพระพุทธศาสนา
การปฏิบัติที่เหมาะสมในฐานะผู้ปกครองและผู้ถูกปกครอง
สำหรับผู้ปกครอง
1.จัดการงานให้ทำตามสมควรแก่กำลังและความสามารถ
2.ให้อาหารและรางวัล
3.รักษาพยาบาลในยามเจ็บไข้(มีสวัสดิการให้)
4.แจกของที่มีรสแปลกให้กิน(ให้อาหาร ให้ของขวัญพิเศษ)
5.มีวันหยุดพักผ่อนตามโอกาสบ้าง
สำหรับผู้ถูกปกครอง
1.เริ่มงานก่อนนาย
2.เลิกงานทีหลังนาย
3.ถือเอาแต่ของที่นายให้
4.ทำการงานให้เรียบร้อยและดียิ่งขึ้น
5.นำเกียรติคุณของนายไปเผยแพร่
การศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ เเละธรรมศึกษา
ความเป็นมาของโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์
ความเป็นมาของโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์โรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ในประเทศไทยเริ่มมาจากแนวคิดของพระพิมลธรรมองค์สภานายกมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัยหลังจากได้เดินทางไปดูงานด้านพระพุทธศาสนาที่ประเทศพม่าและเสียงการได้พบเห็นการสอนพระพุทธศาสนาในวันอาทิตย์ในประเทศนานๆจะเห็นได้ว่ามีผลดีมากเมื่อเดินทางกลับมาประเทศไทยจึงได้นำแนวคิดดังกล่าวมาหารือร่วมกับผู้บริหารคณะอาจารย์เจ้าหน้าที่และนิสิตของมหาวิทยาลัยโดยได้ดำเนินการเปิดสอนเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2501 ที่มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัยวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์กรุงเทพมหานคร
วัตถุประสงค์ของโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์
๑. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ทางด้านพระพุทธศาสนา
๒. เพื่อส่งเสริมความรู้และปลูกฝังศีลธรรมวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามให้กับเด็กและเยาวชน
๓. เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้ใกล้ชิดกับพระภิกษุและสามเณร
๔. เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ธรรมศึกษา
ธรรมศึกษาคือการจัดการศึกษาพระพุทธศาสนาสำหรับคฤหัสถ์เริ่มขึ้นครั้งแรกใน พ.ศ. ๒๔๗๒ แบ่งการเรียนเป็น ๓ ระดับคือธรรมศึกษาตรีธรรมศึกษาโทและธรรมศึกษาเอกโดยผู้ศึกษาหลักสูตรธรรมศึกษาจบในแต่ละ ชั้นจะได้รับใบประกาศนียบัตรรับรองวิทยฐานะ
วัตถุประสงค์ของการจัดธรรมศึกษา
๑.เพื่อเปิดโอกาสให้พุทธศาสนิกชนที่เป็นคฤหัสถ์มีโอกาสศึกษาพุทธประวัติประวัติพุทธสาวก พระธรรมพระวินัยพุทธศาสนสุภาษิตศาสนพิธีอย่างถูกต้อง
๒. เพื่อให้คฤหัสถ์สามารถนําหลักธรรมมาประยุกต์ในการดำเนินชีวิต
๓. เพื่อความมั่นคงและแพร่หลายยิ่ง ๆ ขึ้นไปของพระพุทธศาสนา
๔. เพื่อสร้างสังคมคุณภาพรวมทั้งพัฒนาพระสงฆ์ให้มีความสามารถในการเผยแผ่หลักธรรม
การเข้าค่ายพุทธธรรม
ค่ายพุทธธรรมคือค่ายที่จัดขึ้นเพื่อฝึกอบรมและให้ความรู้ส่งเสริมคุณธรรมเพื่อให้ผู้เรียนเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี เป็นพลเมืองที่ดีของสังคม
ประโยชน์
1.ปลูกฝังนิสัยที่ดีงามตามหลักพระพุทธศาสนา
2.รู้จักการอยู่ร่วมกันในสังคม
3.เรียนรู้หลักธรรมและปฏิบัติตาม
4.ได้ฝึกอบรมจิต ฝึกใช้ชีวิตครองตนถือเพศพรหมจรรย์
การเข้าร่วมพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา
พิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา
คือ วิธีการในการประกอบพิธีหรือกิจกรรมในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เช่น พิธีเวียนเทียน พิธีเข้าพรรษา พิธีถวายเทียนพรรษา เป็นต้น
ความสำคัญของการประกอบพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา
๑. เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของคนในสังคม
๒. เป็นจุดนัดหมายให้ตั้งใจเริ่มต้นเตรียมตัวให้พร้อม
๓.เป็นเครื่องควบคุมกาย วาจาและใจให้เป็นระเบียบเรียบร้อย
๔. เป็นอุบายที่ทำให้คนหมู่ มากอยู่ร่วมกันได้อย่างสงบสุข
การประกอบพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนามีเเนวทางในการปฏิบัติดังนี้
๑.เรียบง่าย
๒.ไม่ฟุ่มเฟือย
๓.ไม่ยุ่งยาก ไม่มีพิธีรีตองมาก
๔.ถูกต้องตามประเพณีนิยม
การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ
๑. การมอบตัวกับพระอาจารย์
ผู้ปกครองหรือครูนำตัวเด็กไปพบพระอาจารย์พร้อมดอกไม้ธูปเทียน
3.พิธีการให้ผู้แสดงตน(ถ้ามีคนเดียว)หรือตัวแทน(ถ้ามีหลายคน)จุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัยแล้วทำขั้นตอนต่อไปนี้
ขั้นตอนที่1.กล่าวคำบูชาพระรัตนตรัย
ขั้นตอนที่2.กล่าวคำปฏิญาณตน
ขั้นตอนที่3.ฟังโอวาทจากประธานสงฆ์ในพิธี
ขั้นตอนที่4.ขอเผดียงสงฆ์
๒. สถานที่
ควรจัดในสถานที่ที่เหมาะสม เช่น พระอุโบสถ พระวิหาร ศาลาการเปรียญ หอประชุม เป็นต้น โดยต้องจัดหาโต้ะหมู่บูชา พระพุทธรูป อาสน์สงฆ์ ให้ครบตามจำนาน