Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Job Development of Nurse Director - Coggle Diagram
Job Development of Nurse Director
Staffing
หลักการสำคัญ
แบบแผนหรือรูปแบบในการจัดอัตรากําลังและการจัดบริการพยาบาล ขึ้นอยู่กับชนิด ประเภทและความรุนแรงของผู้ป่วย
ต้องอยู่บนพื้นฐานการมุ่งผลสัมฤทธิ์ด้านประสิทธิภาพ ความคุ้มค่า คุณภาพ
การดูแลผู้ป่วย ตอบสนองพันธกิจ และสอดคล้องกับผลลัพธ์ที่โรงพยาบาลมุ่งหวัง
การประเมินผลการจัดอัตรากําลังต้องประเมินทั้งด้านคุณภาพการดูแลผู้ป่วยและคุณภาพชีวิต
การทํางานของบุคลากร
มีระบบการจัดเตรียมบุคลากรทดแทนให้เพียงพอในกรณีบุคลากรป่วย
ความหมาย
การคัดเลือก การบรรจุตำแหน่งงานต่างๆ เพื่อให้เหมาะสมกับโครงสร้างองค์การ มีการรับสมัครงาน คัดเลือกรวมถึงการแต่งตั้ง การประเมินผล การเลื่อนตำแหน่ง การให้รางวัล การฝึกอบรมและการพัฒนา
กระบวนการจัดอัตรากำลังคนทางการพยาบาล
การวางแผนอัตรากําลัง (Staffing plan)
การจัดตารางการปฏิบัติงาน(Scheduling)
การกระจายอัตรากําลัง(Staff allocation)
วัตถุประสงค์
เพื่อกําหนดปริมาณอัตรากําลังให้มีบุคลากรทางการพยาบาลดูแลผู้ป่วยและให้บริการสุขภาพ อย่างเพียงพอ เหมาะสม
เพื่อสรรหาบุคลกรทางการพยาบาลที่มีคุณสมบัติตามที่กําหนด
เพื่อออกแบบการจัดตารางเวลาการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการพยาบาลให้เหมาะสมกับ ภารกิจของหน่วยงาน
กระบวนการวางแผนกำลังคน
วิเคราะห์แนวโน้มของปัญหาสุขภาพและ พัฒนาการของระบบสุขภาพ
คาดการณ์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพใน ปัจจุบันและอนาคต
คาดการณ์กำลังคนท่ีควรจะรองรับโดยวิเคราะห์กำลังคนท่ีมีในปัจจุบัน แนวโน้มกำลังคนที่จะเพิ่มเข้ามาในระบบ และแนวโน้มกำลังคนท่ีสูญเสียออกจากระบบ
4.วิเคราะห์สถานการณ์การบริหารจัดการกำลังคน
วิเคราะห์ปัญหา (gap analysis) ระหว่างความต้องการกำลังคนกับกำลังคนที่ควรจะรองรับในอนาคต
จัดทำแผนกำลังคนด้านสุขภาพ อาจจะเป็นแผน ระยะสั้น หรือแผนระยะยาว ที่ครอบคลมุถึงการปรับเปลี่ยนการผลิตกำลังคน
อ้างอิง : นงลักษณ์ พะไกยะ. (2561). การคาดการณ์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพ:ฐานที่สำตัญในการวางแผนกำลังคน. วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข, 12(2), 342-355.
Strategic
ความหมาย
การวางแผนยุทธศาสตร์ และการบัญชาการรบเพื่อเอาชนะศัตรู
แนวทางที่ทำให้องค์กรประสบความสำเร็จหรือเกิดการได้เปรียบทางการแข่งขัน
อ้างอิง : พสุ เดชะริทนทร์ และคณะ. (ม.ป.ป.). กลยุทธ์. ใน ศูนย์การสื่อสารนานาชาติแห่งจุฬา (บ.ก.)
ความสำคัญต่อองค์กร
ช่วยให้องค์การมีกรอบและทิศทางที่ชัดเจน
ช่วยให้ผู้บริหารคิดอย่างเป็นระบบ
ช่วยสร้างความพร้อมให้องค์การ
ช่วยสร้างประสิทธิภาพในการแข่งขัน
ช่วยให้การทํางานเกิดความสอดคล้องในการปฏิบัติหน้าท
ช่วยให้องค์การมีมุมมองที่ครอบคลุม
ขั้นตอน
1 ) กำหนดวิสัยทัศน์
2 ) กำหนดภารกิจหลักหรือพันธกิจ
3 ) กำหนดเป้าประสงค์หรือจุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนา
4 ) กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์
5 ) กำหนดกลยุทธ์หรือแนวทางการพัฒนา
Budget/financial management
ชนิดของการจัดงบประมาณ
งบบุคลากร
เงินเดือน
ค่าจ้างประจำ
ค่าจ้างชั่วคราว
งบดำเนินการ
ค่าตอบแทน
ค่าใช้สอย
ค่าวัสดุ
ค่าสาธารณูปโำค
งบลงทุน
รายจ่ายที่กําหนดไว้ให้จ่ายเพื่อการลงทุน ได้แก่ ค่าครุภัณฑ์(วัสดุ/อุปกรณ์ ที่มีอายุการใช้งานนานกว่า 1 ปี และมีราคามากกว่า 5,000 บาท) ค่าที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง
งบเงินอุดหนุน
รายจ่ายที่กําหนดจ่ายเป็นค่าบํารุง หรือเพื่อการช่วยเหลือสนับสนุนการดําเนินงานของหน่วยงาน
งบเงินสด
เพื่อให้ทราบถึงกระแสเงินสดทั้งที่เป็นรายรับและรายจ่ายทําให้ สามารถวางแผนทางการเงินเพื่อควบคุมการดําเนินงานขององค์การได้
งบแผนงาน
เป็นงบที่หน่วยงาน องค์กรได้วางแผนในแต่ละปีตามแผนการปฏิบัติงาน
กระบวนการ
ขั้นเตรียมงบประมาณ (Budget preparation)
การกําหนดวัตถุประสงค์ หรือจัดทําแผน โครงการต่างๆ ประมาณการรายจ่าย
รวบรวมปัญหาวิเคราะห์การใช้จ่ายในแต่ละโครงการ
แก้ไขปรับปรุงยอดรายจ่าย
เสนอแผนงบประมาณต่อฝ่ายบริหาร
ขั้นการอนุมัติงบประมาณ (budget adoption)
รัฐสภาจะแต่งตั้งคณะกรรมาธิการขึ้นพิจารณางบประมาณที่ฝ่ายบริหารเสนอมา
ขั้นการบริหารงบประมาณ (budget execution)
เป็นอํานาจของ ฝ่ายบริหารหรือหน่วยงานที่จะกํากับดูแลให้การดําเนินงานในโครงการต่างๆ เป็นไปตามที่เสนอ ด้วยการ บริหารรายรับ รายจ่ายให้เป็นไปตามงบประมาณที่ได้รับ
การจัดสรรงบประมาณทางสุขภาพ
แบบงบยอดรวม(Global budget/Block grant)
เป็นการจ่ายงบประมาณก่อนที่จะมีการปฏิรูประบบสุขภาพ และเปลี่ยนมาใช้หลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ
แบบเหมาจ่ายรายหัวประชากร (Capitation)
งบประมาณที่ใช้ใน ระบบบริการสุขภาพภายใต้หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
แบบรายกิจกรรม มีหรือไม่มีราคากลาง (Fee-for-service and price schedule)
กําหนดค่าราคาในแต่ละกิจกรรม (Procedure/Service) ที่ให้กับผู้ป่วยในแต่ละประเภท
แบบตามรายโรคที่ป่วย ดูตาม DRGs(Cases-based budget)
จ่ายเงินค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยใน โดยการกําหนดอัตราราคาพื้นฐานไว้ล่วงหน้า โดยให้อัตรานั้นเท่ากับหนึ่งหน่วย RW ซึ่งในการเบิกจ่าย ขึ้นอยู่กับค่าน้ําหนักสัมพัทธ์ หรือตามวันนอน
แบบอัตราคงที่
การรับเข้านอนโรงพยาบาล (Fixed rate)
แบบรายวัน
บริษัทประกันชีวิต ค่าชดเชยรายวัน (Daily rate)
อ้างอิง : ลภัสรา โอสถถานนท์. (2564). ประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ พ.ศ.2563เขตสุขภาพที่10. วารสารวิชาการสาธารณสุข, 30(2), 332-333. กล่าวว่า ปัจจัยด้านการเตรียมคำขอและอนุมัติงบประมาณ การควบคุมงบประมาณ การบริหารงบประมาณ จะเกิดปัจจัยความสำเร็จได้ต้องใช้การวางแผนกลยุทธ์ เพื่อให้ส่งผลต่อประสิทธิภาพการบริหารงานคลัง และการกำหนดนโยบายที่ชัดเจนจะทำให้การจัดสรรงบประมาณมีประสิทธิภาพ
Change management
ความหมาย
การจัดการกับเหตุการณ์ทั้งภายในและภายนอกองค์กร เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างเหมาะสม และทําให้เกิดการพัฒนาองค์กรทั้งเชิง ประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ทศพร ศิริสัมพันธ์ (2551) ได้ให้ความหมายไว้ว่า การบริหารการเปลี่ยนแปลง หมายถึง การวางแผน การดำเนินการต่างๆที่จะลดผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงและสนับสนุนให้เกิดการปรับตัวและการยอมรับพร้อมทั้งสร้างศักยภาพใหม่ๆเพื่อรองรับให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอย่างเป็นผลตามเป้าหมาย
รูปแบบ
การเปลี่ยนแปลงเชิงรุก (Proactive)
เป็นการเปลี่ยนแปลงตนเองก่อนที่จะได้รับการเปลี่ยนแปลง
จากผู้อื่น
การเปลี่ยนแปลงเชิงรับ (Reactive)
เป็นการถูกเปลี่ยนแปลงโดยผู้อื่น อาจจะเป็นในเชิงจาก หน่วยงานต้นสังกัด หรือเป็นนโยบายระดับองค์กร ระดับประเทศก็ได้
สาเหตุของการเปลี่ยนแปลง
การต่อต้านการเปลี่ยนแปลง
การไล่ตามการเปลี่ยนแปลง
การนํา การเปลี่ยนแปลงมาใช้ให้เกิดประโยชน
แนวทางในการบริหารความเปลี่ยนแปลง
ผู้บริหารต้องเป็นผู้นําในการเปลี่ยนแปลง (Change Agent)
เป็นตัวอย่างที่ด
ต้องบริหารเชิงรุก หรือ Proactive
การบริหารที่ต้องมี การคาดการณ์และวางแผนไว้ล่วงหน้าอย่างเหมาะสมเพื่อรองรับสถานการณ์ต่างๆที่อาจเกิดขึ้น
Personal managment
ความหมาย
กระบวนการที่ผู้บริหารใช้ดำเนินงานด้านบุคลากร ตั้งแต่การสรรหา คัดเลือก และบรรจุบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมให้ปฏิบัติงานในองค์การ พร้อมทั้งการพัฒนา ธำรงรักษาให้สมาชิกที่ปฏิบัติงานในองค์การได้เพิ่มพูนความรู้ ความสามารถ มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีในการทำงาน
ความสำคัญ
อรพันธ์ อันติมานนท์. (2562). การบริหารทรัพยากรมนุษย์สำหรับผู้บริหาร.
ทำให้มีบุคลากรเพียงพอ
ทำให้เกิดการป้องกันและแก้ไขพฤติกรรมที่เบี่ยงเบนของบุคลากร
ทำให้ได้คนดีและมีความสามารถเข้ามาทำงานในองค์การ
ทำให้เกิดการประเมินผลงานของบุคลากรที่เหมาะสมและสนับสนุนคนทำงานดี อันเป็นการสร้างแรงจูงใจบุคลากรให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
ทำให้มีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ทั้งคนที่รับเข้ามาทำงานใหม่และคนที่ทำงานอยู่เดิม
ทำให้เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างคนทำงานด้วยกันและคนทำงานกับผู้บริหาร
ทำให้มีการบริหารค่าตอบแทนและสวัสดิการแก่บุคลากรอย่างเหมาะสม
เป้าหมาย
สรรหา
หาคนดีคนเก่งเข้ามาทางาน
พัฒนา
รับเข้ามาแล้วพัฒนาให้เป็นคนดี คนเก่งยิ่งๆ ขึ้นไปอีก
รักษาไว้
เป็นเรื่องการจัดการทางก้าวหน้าในอาชีพ การมีค่าตอบแทนที่ เหมาะสม การสร้างความพึงพอใจและเป็นผู้รักองค์การ
ใช้ประโยชน์
การใช้คนให้ตรงกับงาน ให้ความเป็นอิสระและมีส่วนร่วม ให้ทางานได้อย่างเต็ม ศักยภาพ
ปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์
ปัจจัยภายในองค์กร
ด้านโครงสร้างองค์กรและภารกิจหลัก
ด้านกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ
ด้านค่านิยมองค์กร
ด้านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
ในหน่วยงาน
ปัจจัยภายนอกองค์กร
ด้านการเปลี่ยนแปลงของสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง
ด้านความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศ
ด้านการแข่งขันระดับประเทศ
ด้านการสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชา ระดับสูง
อ้างอิง : ชัยกฤต ชรารัตน์ และปภัสสร ผลเพิ่ม. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์กองร้อยบิน กองพลที่ 1 รักษาพระองค์. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม, 5(2), 119-127.
planning
หลักการวางแผนการพยาบาล
เริ่มปฏิบัติจัดทําขณะที่เริ่ม ดําเนินงานเป็นอันดับแรก
ศึกษาและทําความเข้าใจ วัตถุประสงค์ และนโยบาย ให้ถ่องแท้ชัดเจน
คำนึงถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่จําเป็นต้องใช้ในการวางแผน
ดําเนินงานตามแผน
คํานึงถึงสภาพภูมิศาสตร์ สภาวะแวดล้อม ดินฟ้าอากาศ คุณค่าทางสังคม พฤติกรรมของ บุคคล ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณี
ประเภท
แบ่งตามระยะเวลา
แผนระยะยาว แผนระยะกลางและแผนระยะสั้น
แบ่งตามลักษณะความสําคัญ
แผนใหญ่ (Master Plan) แผนรอง หรือแผนละเอียด
แบ่งตามกิจกรรมหรือประเภทของแผน
แผนทางเศรษฐกิจ แผนทางสังคม และแผน
ทางการคลัง
ขั้นตอนการวางแผน
ขั้นดําเนินการก่อนการวางแผน (Preparation)
การรวบรวมข้อมูล
วิเคราะห์ปัญหา
กําหนดแผนงานและโครงการ
กําหนดเป้าหมาย
กําหนดวิธีดําเนินการ
กําหนดค่าใช้จ่าย
ขั้นปฏิบัติตามแผน (Implementation)
การจัดกลไกในการปฏิบัติงาน
การจัดบุคคล มอบหน้าที่ความรับผิดชอบ
การอํานวยการสั่งการ การตัดสินใจ
การนิเทศและการควบคุม
ขั้นการติดตามประเมินผล (Follow up and Evaluation)
การติดตามแผนอาจจะติดตามแต่ละปี หรือติดตามตลอดเวลาเพื่อหาปัญหาและ
อุปสรรค
การประเมินผล เมื่อสิ้นสุดแผนแต่ในทางปฏิบัติ ประเมินผลก่อนเพื่อปรับปรุงแผนและ
วางแผนใหม่
ประโยชน์ของการวางแผน
เกิดระเบียบในการปฏิบัติงาน
ประหยัดแรงงาน วัสดุ และเวลา
ผู้นิเทศสามารถควบคุม ติดตาม และประเมินผลงานได้ดี
ถ้าทุกฝ่ายได้ร่วมวางแผน จะเกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของงานนั้น ๆ
ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์. (2557). เทคนิคการวางแผนเพื่อจัดการองค์การ.
บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ลดความไม่แน่นอน
ทาให้เกิดประสานงานที่ดี
ส่งเสริมให้เกิดการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ