Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พรบ การศึกษาแห่งชาติ พ ศ 2542, 654151010 ธฤษวรรณ จำปีพันธุ์ - Coggle…
พรบ การศึกษาแห่งชาติ พ ศ 2542
หมวด 7 ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา 51/1
คณาจารย์ หมายถึง บุคลากรซึ่งท่าหน้าที่หลักการด้านการสอนและการวิจัยในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาตรีของรัฐและเอกชน แต่ไม่รวมบุคลากรที่สังกัด อว.
มาตรา 53
ให้มีองค์กรวิชาชีพครู ผู้บริหารสถาศึกษา ผู้บริหารการศึกษา มีฐานะเป็นองค์กรอิสระภายใต้การบริหารของสภาวิชาชีพในกำกับของกระทรวง มีอำนาจหน้าที่ดังนี้
พัฒนาวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา
กำกับดูแลการปฏิบัติตามาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพ
ออก/เพิกถอน ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
กำหนดมาตรฐานวิชาชีพ
มาตรา 52
ให้กระทรางส่งเสริมให้มีระบบผลิต/พัฒนาครู คณาจารย์ บุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพมาตราฐานที่เหมาะสมกับวิชาชีพชั้นสูง
มาตรา 54
ให้มีองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของข้าราชการ โดยให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระดับสถานศึกษาของรัฐ
มาตรา 55
ให้มีกฎหมายว่าด้วยเงินเดือน ค่าตอบแทน สวัสดิการ และสิทธิประโยชน์อื่นสำหรับข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา 56
การผลิดและพัฒนาคณาจารย์/บุคลากรทางการศึกษา/มาตรฐาน-จรรยาบรรณวิชาชีพ และการบริหารงานบุคคลของข้าราชการ/พนักงานของรัฐในสถานศึกษาระดับปริญญาที่เป็นนิติบุคคลให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งสถานศึกษาแห่ง นั้น ๆ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
มาตรา 57
ให้หน่วยงานการศึกษาระดมทรัพยากรบุคคลในชุมชนให้มีส่วนในการจัดการศึกษาโดยนำประสบการณ์ ความรู้ ความชำนาญ ภูมิปัญญาของบุคคลนั้นมาใช้ให้เกิดประโยชน์ทางการศึกษาและยกย่องเชิดชูผู้ส่งเสริมการศึกษา
หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรา 47
ระบบประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพ/มาตราฐานการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
การประกันคุณภาพภายนอก
การประกันคุณภาพภายใน
ระบบ/หลักเกณฑ์/วิธีการประกันคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานและการอาชีวศึกษาให้เป็นไปตามกฎกระทรวง
การประกันคุณภาพการศึกษาของระดับอุดมศึกษาอยู่ในอำนาจเจ้าหน้าที่ของอว
มาตรา 48
ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพและให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายใน
มาตรา 49
ให้มีสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(สมศ )
มีฐานะองค์ประกอบดังนี้
พัฒนาเกณฑ์/วิธีประเมินคุณภาพภายนอก
ประเมินการจัดการศึกษาเพื่อให้มีการตรวจสอบคุณภาพการศึกษาโดยคำนึงถึงความมุ่งหมาย หลักการ และแนวทางการจัดการศึกษาตาม พ ร บ นี้
มาตรา 50
สถานศึกษาจัดเตรียมเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ที่มีข้อมูลเกี่ยวกับสถานศึกษา รวมถึงให้บุคลากร-คณะกรรมการสถานศึกษา-ผู้ปกครอง-ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องให้ข้อมูลเพิ่มเติมในส่วนที่เกี่ยวกับการปฏิบัติของสถานศึกษา
มาตรา 51
กรณีที่ผลการประเมินภายนอกของสถานศึกษาไม่ได้ตามที่มาตรฐานกำหนด ให้สมศ.จัดทำข้อเสนอแนะการปรับปรุงแก้ไขต่อหน่วยงานต้นสังกัด
หมวด 8 ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
มาตรา 58
มีการระดมทรัพยากรและการลงทุนด้านงบประมาณ การเงิน ทรัพย์สินทั้งจากรัฐ
ให้รัฐและองค์กรปกครองท้องถิ่นระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา
บุคคล ครอบครัว ชุมชน ระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา
มาตรา 61
ให้รัฐจัดเงินอุดหนุนการศึกษาที่จัดโดยบุคคล ครอบครัว ชุมชน ตามความเหาะสมและความจำเป็น
มาตรา 59
สภานศึกษาของรัฐที่เป็นนิติบุคคลมีอำนาจปกครอง/ดูแล/บำรุงรักษาใช้/จัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของสถานศึกษา
อสังหาริมทรัพย์ที่สถานศึกษาของรัฐที่เป็นนิติบุคคลได้มาจากผู้อุทิศให้
รายได้/ผลประโยชน์/ผลประโยชน์จากราชพัสดุ/เบี้ยปรับจากการผิดสัญญาลาศึกษา
มาตรา 60
รัฐจัดสรรงบประมาณแผ่นดินให้กับการจัดการศึกษาในฐานะที่มีความสำคัญที่สุดต่อการพัฒนา
งบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษาอื่นที่จำเป็นสำหรับผู้เรียนที่มีความต้องการเป็นพิเศษ
เงินอุดหนุนทั่วไปเป็นค่าใช้จ่ายรายบุคคลที่เหมาะสมแก่ผู้เรียนการศึกษาภาคบังคับ
ทุนการศึกษาในรูปแบบกองทุนกู้ยืมให้กับนักเรียนจากครอบครัวรายได้น้อย
งบประมาณสำหรับค่าใช้จ่ายดำเนินการ และงบลงทุนให้สถานศึกษาของรัฐ
งบประมาณในลักษณะเงินอุดหนุนทั่วไปให้สถานศึกษาระดับอุดมศึกษา
กองทุนกู้ยืมดอกเบี้ยต่ำสำหรับสถานศึกษาเอกชน
กองทุนเพื่อพัฒนาการศึกษาของรัฐ/เอกชน
มาตรา 62
มีระบบการติดตาม/ตรวจสอบ/ประเมินการใช้งบประมาณการจัดการศึกษา
หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา 63
รัฐต้องจัดสรรคลื่นความถี่/สื่อตัวนำ/โครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็นต่อการส่งวิทยุกระจายเสียง-การสื่อสารรูปแบบต่าง ๆ เพื่อประโยชน์สำหรับการศึกษา
มาตรา 69
รัฐต้องจัดให้มีหน่วยงานกลางทำหน้าที่เสนอนโยบาย-แผน ส่งเสริม/ประสบการวิจัย
มาตรา 64
รัฐต้องส่งเสริมให้มีการผลิต/พัฒนาหนังสือแบบเรียนทางวิชาการ
สื่อสิ่งพิมพ์
วัสดุอุปกรณ์
เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา 65
มีการพัฒนาบุคลากรทั้งผู้ผลิดและผู้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้ความรู้ ความสามารถ
มาตรา 66
ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในโอกาสแรกที่ทำได้
มาตรา 67
รัฐต้องส่งเสริมให้มีการวิจัยและการพัฒนา การผลิตและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษารวมทั้งการติดตามตรวจสอบและประเมินผล
มาตรา 68
มีการระดมทุนจัดตั้งกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาจากเงินอุดหนุนของรัฐ
654151010 ธฤษวรรณ จำปีพันธุ์