Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันในเด็ก, 5500-2 - Coggle Diagram
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันในเด็ก
immunization
การทำให้ร่างกายมีภูมิคุ้มกันหรือความต้านทาน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคหรือทำให้เกิดโรคมีความรุนแรงน้อยลง
วิธีการสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน
Active immunization การสร้างภูมิคุ้มกันโรคทางตรงหรือการให้วัคซีนเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกัน
passive immunization การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคทางอ้อมหรือการรับเอา
ชนิดของวัคซีน
toxoid เป็นพิษที่แบคทีเรียขับออกมา exotoxin คอตีบบาดทะยัก
inactivated หรือ killed vaccine
live attenuated vaccine (OPV,MMR,BCG)
วัคซีนพื้นฐาน
BCG
Bacillus calmette guerin
วัคซีนป้องกันวัณโรค
ขนาด 0.1 ml. Intradermal ไหล่ซ้าย ครั้งเดียวในทารกแรกเกิด
หลังฉีดมีตุ่มแดงและมีหนอง ห้ามแกะเกา เจาะหนองออก ห้ามใส่ยา ทำความสะอาดใช้สำลีชุบน้ำสะอาดเช็ดรอบๆ
ห้ามในผู้ที่มีแผลติดเชื้อหรือแผลไฟไหม้
HBV
Hepatitis B vaccine
วัคซีนป้องกันโรคตับอักเÿบบี ชนิดเชื้อตาย
ขนาด 0.5 ml ฉีดเข้า IM
ทารกที่มารดา HBsAg เป็นบวก ให้ HBV1 + HBIG 0.5 ml พร้อมกันคนละตำแห่นง ภายใน 12 ชม หลังคลอด
DTP
(Diptheria, Tetanus toxoids and Pertussis Vaccine Combined)
วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ บาดทะยัก และไอกรน ชนิดเชื้อตาย
ขนาด 0.5 ml ฉีดเข้า IM ห้ามฉีดเข้าใต้ผิวหนัง ทำให้เป็นไตแข็งได้
หลังฉีด 3-4 ชั่วโมง มีอาการปüด บวม แดง ร้อน เป็นอยู่ไม่เกิน 2 วัน แนะนำให้เช็ดตัวและให้ยาลดไข้ ประคบเย็นใน 24 ชั่วโมงแรก และประคบอุ่น
DTwP
วัคซีนที่ประกอบด้วย คอตีบ บาดทะยัก และไอกรนชนิดทั้งเซลล์/เต็มเซลล์
ใช้ในเด็กทั่วไปที่ไม่มีข้อห้ามรับวัคซีนไอกรน
DTaP
วัคซีนที่ประกอบด้วย คอตีบ บาดทะยัก และไอกรนชนิดไร้เซลล์ ใช้สำหรับผู้ที่ปัญหาในการใช้วัคซีนชนิดเต็มเซลล์ แล้วมีปฏิกิริยารุนแรงต่อวัคซีนชนิดเต็มเซลล์
dT/ Td/ Tdap/ TdaP
วัคซีนคอตีบบาดทะยัก และวัคซีนคอตีบบาดทะยักและไอกรนชนิดไร้เซลล์ สำหรับเด็กอายุ 11 ปีขึ้นไปและผู้ใหญ่ เป็นเข็มกระตุ้นทุกๆ 10 ปี
Pa
วัคซีนไอกรนชนิดไร้เซลล์ ใช้สำหรับเด็กอายุ 11 ปีขึ้นไป หรือหญิงตั้งครรภ์ที่ต้องการภูมิคุ้มกันต่อไอกรนเพียงอย่างเดียว
Poliomyelitis vaccine
วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ
IPV (inactivated poliomyelitis vaccine)
วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอชนิดเชื้อตาย
มีความปลอดภัยสูง
ให้ในคนที่มีภูมิคุ้มกันผิดปกติ
ราคาสูงกว่าชนิดกิน
MMR (Measles, Mumps, Rubella Vaccine)
วัคซีนป้องกันโรคคางทูม โรคหัด เยอรมัน ชนิดเชื้อเป็น
ขนาด 0.5ml SC ไม่ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ทำให้แพ้รุนแรงได้
JE (Japanese Encephalitis Vaccine)
วัคซีนป้องกันโรคไข้สมองอักเสบชนิดเจอี ชนิดเชื้อตาย
ฉีดเข้า SC
ไข้ ปวดศรีษะ คลื่นไส้ อาเจียน ผื่น
Flu (Influenza vaccine )
วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ชนิดเชื้อตาย
ฉีด IM ในเด็กอายุ 6 เดือนขึ้นไป
อายุ < 9 ปี การฉีดในครั้งแรกต้องฉีด 2 เข็มห่างกัน 1 เดือน
RV (Rotavirus vaccine)
วัคซีนป้องกันโรคอุจจาระร่วงจากเชื้อโรต้า
Dose แรกที่อายุ 6-15 สัปดาห์ และ สุดท้ายอายุไม่เกิน 8 เดือน
ไม่ควรให้โดสแรกในเด็กอายุเกินกว่ากำหนด
ส่วนประกอบของวัคซีน
ของเหลวสำหรับแขวนตะกอน
สารกันเสีย สารเพิ่มความคงตัว และยาปฏิชีวนะ
สารเสริมฤทธิ์
วิธีการให้วัคซีน
oral rout ป้องกันโรคติดเชื้อที่ดข้าทางปาก (OPV,Rota)
intradermal หรือ intra cutneous route กระตุ้นเซลล์จำนวนมากในผิวหนังและดูดซึมไปยังท่อน้ำเหลืองได้ดี (BCG,rabies)
subcutaneous route ใช่กับวัคซีนที่ไม่ต้องการดูดซึมเร็วเกินไป (MMR,JE,VAR)
intramuscular rout ดูดซึมไขมันได้ดี (DTP,FLU,HBV,Hib,HPV,Covid-19)
พ้นเข้าทางจมูก กระตุ้นให้ร่างกายมีภูมิคุ้มกันทางเยื่อเมือก (Flu)
หลักการให้วัคซีน
มีไข้ให้เลื่อนฉีดไปจนกว่าจะหาย
ให้วัคซีนช้ากว่ากำหนดได้ ก่อนกำหนดไม่ได้
วัคซีนเชื้อตายให้พร้อมกันได้คนละตำแหน่ง
เคมีบำบัดต้องหยุดยา 3-6 เดือนจังให้วัคซีน
ห้ามให้ OVP กับเด็กที่มีคนในบ้านเป็นโรคขาดภูมิคุ้มกันแต่กำเนิด
เด็กที่เคยได้รับ DTP แล้วเกิดอาการชักภายใน 3 วัน หรือมี encephalopathy ภายใน 7 วันห้ามให้วัคซีนไอกรนชนิด whole cell ในครั้งต่อไป
เด็กที่มีประวัติชักจากไข้สูง
BCG ให้ในเด็กที่ติดเชื้อ HIV ที่ยังไม่มีอาการ