Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การออกแบบการวิจัย - Coggle Diagram
การออกแบบการวิจัย
3. หลักการออกแบบการวิจัย
1) Max
หมายถึงการทำให้ความแปรปรวนของตัวแปรตามอันเนื่องมาจากตัวแปรอิสระ หรือตัวแปรทดลองมีค่าสูงสุด
2) Min
หมายถึงการทำให้แปรปรวนอันเนื่องจากความคลาดเคลื่อนมีค่าต่ำสุด
2.1 ความคลาดเคลื่อนอย่างสุ่ม
เป็นความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากความไม่เท่าเทียมกันของโอกาสอันเกิดขึ้นของตัวแปรแทรกซ้อน
2.2 ความคาดเคลื่อนอย่างเป็นระบบ
เป็นความคลาดเคลื่อนที่มีผลต่อกลุ่มตัวอย่างเท่าเทียมกัน
3) Con
หมายถึงการควบคุมอิทธิพลของตัวแปรเกินไม่ให้ส่งผลต่อตัวแปรตาม
3.1 การสุ่ม
หมายถึงการให้คุณสมบัติต่างๆ ของสมาชิกในกลุ่มตัวอย่างมีความเท่าเทียมกัน
3.2 การกำจัดตัวแปรออกไป
หมายถึงการทำให้กลุ่มตัวอย่างมีลักษณะตามตัวแปรนั้นๆเหมือนกัน
3.3 การเพิ่มตัวแปร
หมายถึงการนำตัวแปรแทรกซ้อนนั้นเพิ่มเข้าไปเป็นตัวแปรอิสระอีกตัวหนึ่งในแบบการวิจัย
3.4 การจับคู่
3.4.1 จับคู่เป็นรายกลุ่ม
3.4.2 จับผู้เป็นรายบุคคล
3.5 การใช้เทคนิคทางสถิติ
เป็นการนำเอาวิธีการทางสถิติมาควบคุม
3.6 ใช้เครื่องมือจักรกลหรือกายภาพ
เป็นการควบคุมโดยวิธีนี้ส่วนใหญ่ใช้สำหรับการควบคุมตัวแปรแทรกซ้อน
3.7 การออกแบบการวิจัย
หมายถึงแบบการวิจัยที่นักวิจัยคิดขึ้นมาเพื่อควบคุมความแปรปรวนของตัวแปร
2. ประโยชน์ของการออกแบบการวิจัย
ช่วยให้สามารถวางแผนควบคุมตัวแปรเกิน หรือตัวแปรแทรกซ้อนที่ส่งผลรบกวนการทดลอง
ช่วยให้สามารถตัดสินใจเลือกวิธีวิจัยได้ถูกต้อง
ช่วยในการกำหนดและสร้างเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
4. ความเที่ยงตรงของแบบการวิจัย
1. ความเที่ยงตรงภายใน
หมายถึงความเที่ยงตรงที่เกิดจากการดำเนินการทดลองโดยตรง
1) ควบคุมในเรื่องการทดสอบสมมติฐาน
2) ควบคุมในเรื่องการควบคุมตัวแปรที่ไม่ต้องการศึกษา
3) ควบคุมในเรื่องความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ของข้อมูลที่ทำการศึกษา
ปัจจัยที่ทำให้การวิจัยขาดความเที่ยงตรงภายใน มีดังนี้
1) ประวัติของกลุ่มตัวอย่าง
2) วุฒิภาวะ
3) ทักษะในการสอบวัด
4) เครื่องมือที่ใช้วัด
5) การถดถอยของสถิติ
6) การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง
7) การขาดหายไปของกลุ่มตัวอย่าง
8) ผลของปฏิสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่างๆ
2. ความเที่ยงตรงภายนอก
คือการที่ผลการวิจัยสามารถสรุปอ้างอิงไปยังเนื้อหา สถานการณ์ที่ใกล้เคียง และประชากรได้อย่างถูกต้อง
2.1 ปฏิกิริยาร่วมระหว่างการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างกับตัวแปรทดลอง
2.2 ปฏิกิริยาระหว่างการสอบครั้งแรกกับตัวแปรทดลอง
2.3 ปฏิกิริยาจากการจัดสภาพการทดลอง
2.4 ผลรวมของการได้รับตัวแปรทดลองหลายๆ ครั้งติดต่อกัน
5. แบบการวิจัย
กลุ่มที่ 2 เป็นแบบการวิจัยเชิงกึ่งทดลอง
กลุ่มที่ 1 เป็นแบบการวิจัยก่อนมีแบบการวิจัยเชิงทดลอง
กลุ่มที่ 3 เป็นแบบการวิจัยเชิงทดลอง
1) การสุ่มตัวอย่าง
2) การสุ่มเงื่อนไขให้กับกลุ่มตัวอย่าง
แบบการวิจัยก่อนมีแบบการวิจัยเชิงทดลอง
แบบที่ 1
แบบกลุ่มเดียวหรือรายกรณี
แบบที่ 2
แบบกลุ่มเดียวสอบก่อนและหลัง
แบบที่ 3
แบบอนุกรมเวลาแบบกลุ่มเดียว
แบบการวิจัยเชิงกึ่งทดลอง
แบบที่ 4
แบบการวิจัยที่กลุ่มควบคุมไม่มีการสุ่มแต่มีการสอบก่อนและหลัง
แบบที่ 5
แบบอนุกรมเวลาแบบมีกลุ่มควบคุม
แบบที่ 6
แบบหลายกลุ่มหมุนเวียน
แบบการวิจัยเชิงทดลอง
แบบที่ 7
แบบมีกลุ่มควบคุมแบบสุ่มและมีการสอบหลังการทดลอง
แบบที่ 8
แบบมีกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองแบบสุ่มและมีการทดสอบก่อนและหลังการทดลอง
แบบที่ 9
แบบ 4 กลุ่มของโซโลมอน
6. การประเมินประสิทธิภาพของแบบการวิจัย
แบบการวิจัยที่มีประสิทธิภาพ
หมายถึงแบบการวิจัยที่มุ่งสู่คำตอบต่อปัญหาอย่างแท้จริงและเป็นแบบที่อำนวยให้ผู้วิจัยสามารถควบคุม หรือขจัดอิทธิพลของตัวแปรแทรกซ้อนได้
หลักสำคัญของการประเมินประสิทธิภาพของแบบการวิจัยมี 3 ประการ
1) การพิจารณาว่าแบบการวิจัยนั้นมุ่งสู่คำตอบต่อปัญหาการวิจัยอย่างแท้จริง
2) การพิจารณาว่าแบบการวิจัยนั้นสามารถควบคุมหรือกระจัดอิทธิพลของตัวแปรแทรกซ้อนที่ส่งผลมาถึงตัวแปรตาม
3) การพิจารณาว่าแบบการวิจัยมีความเที่ยงตรงภายในและความเที่ยงตรงภายนอกสูง
1. ความหมายของการออกแบบการวิจัย
การออกแบบการวิจัย (research design) หมายถึง แผน โครงสร้างและยุทธวิธีในการศึกษาค้นคว้า
ประการแรก
เพื่อให้ได้คำตอบตอบปัญหาที่ทำการวิจัยอย่างถูกต้องแม่นยำเป็นปรนัยและด้วยวิธีที่ประหยัดที่สุด
ประการที่สอง
เพื่อควบคุมขจัดอิทธิพลของตัวแปรเกินหรือตัวแปรแทรกซ้อน