Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย - Coggle Diagram
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
คุณภาพที่สำคัญของแบบทดสอบที่จะต้องทำการตรวจสอบ ได้แก่ ความยาก อำนาจจำแนก ความเที่ยง และความเชื่อมั่น ข้นอยู่กับแนวคิดประเภทแบบทดสอบ แบ่งออกเป็น 2 แนวคิด
แบบทดสอบอิงกลุ่ม
การตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบอิงกลุ่ม
ความยากของข้อสอบอิงกลุ่ม (difficulty : p)
สัดส่วนของจำนวนผู้ทำข้อสอบข้อนั้นถูกกับจำนวนคนเข้าสอบทั้งหมด
คุณสมบัติของความยาก (p) มีดังนี้
ถ้าค่าความยากของตัวถูกมีค่าสูง แสดงว่าข้อสอบง่าย หรือมีคนถูกทำมาก
ค่าความยากมีค่าตั้งแต่ 0.00 ถึง 1.00
ค่าวามยากที่ดีสำหรับตัวถูกมีค่าอยู่ระหว่าง 0.20 ถึง 0.80 ส่วนตัวลวงมีค่าอยู่ระหว่าง 0.05 ถึง 0.50
ถ้าค่าความยากของตัวถูกมีค่าต่ำ แสดงว่าข้อสอบยาก หรือมีคนทำถูกน้อย
อำนาจจำแนกของข้อสอบอิงกลุ่ม (discrimination : r)
ประสิทธิภาพของข้อสอบในการจำแนกผู้เข้าสอบออกเป็นกลุ่มเก่งและกลุ่มอ่อน หรือกลุ่มสูงและกลุ่มต่ำ
คุณสมบัติของค่าอำนาจจำแนก (r) มีดังนี้
ถ้าค่าอำนาจจำแนกสูง แสดงว่าข้อสอบมีอำนาจจำแนกสูง
ถ้าค่าอำนาจจำแนกต่ำหรือเป็นศูนย์ แสดงว่าข้อสอบมีอำนาจจำแนกต่ำ หรือไม่มีอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนกมีค่าตั้งแต่ -1.00 ถึง 1.00
ค่าอำนาจจำแนกที่ดีของตัวถูกมีค่าอยู่ระหว่าง 0.20 ถึง 1.00 ส่วนตัวลวงมีค่าอยู่ระหว่าง 0.05 ถึง 0.50
วิธีวิเคราะห์ข้อสอบรายข้อ
ใช้เทคนิค 27%
นับจำนวนกระดาษเรียงคะแนนสูงสุดลงมา 27%
เรียงกระดาษคำตอบจากคะแนนสูงไปหาคะแนนต่ำ
นำกระดาษในกลุ่มสูง ไปลงรอยขีด (tally) ในแบบฟอร์ม
นำข้อสอบที่สร้างขึ้นตามตารางวิเคราะห์หลักสูตรไปสอบกับนักเรียน
ความเที่ยงตรงของแบบทดสอบอิงกลุ่ม
ความเที่ยงตรง (validity)
ประสิทธิภาพของแบบทดสอบที่สามารถวัดลักษณะ (trait) ที่ต้องการจะวัดได้ แบ่งได้เป็น 4 ชนิด
ความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง (constuct validity)
ความเที่ยงตรงเชิงพยากรณ์ (predictive validity)
ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (content validity)
ความเที่ยงตรงตามสภาพ (concurrent validity)
ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบอิงกลุ่ม
ความเชื่อมั่น (reliabitity)
ความคงที่แน่นอนของคะแนนที่ข้อสอบวัดออกมาได้ตามความมุ่งหมาย การหาค่าความเชื่อมั่น นิยมใช้ 2 วิธี
แบบทดสอบนั้นจะต้องวัดคุณลักษณะ (traits) ร่วมกัน หรือวัดองค์ประกอบเดียวกัน
ผู้ทำถูกให้ 1 คะแนน ผู้ทำผิดให้ 0 คะแนน ในรายรายข้อหนึ่ง ๆ
สูตรในการหาค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบที่คูเลอร์ - ริชาร์ดสัน (Kuder-Richardson) คิดขึ้น มี 2 สูตร
1.KR 20
KR 21
แบบทดสอบอิงเกณฑ์
การตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบอิงเกณฑ์
ความยากของข้อสอบอิงเกณฑ์
เป็นการทดสอบเพื่อเปรียบเทียบความสามารถของผู้เรียนกับเกณฑ์ที่เป็นมาตรฐานว่าอยู่ในระดับถึงมาตรฐานที่ยอมรับหรือไม่
อำนาจจำแนกของข้อสอบอิงเกณฑ์
ประสิทธิภาพในการจำแนกระดับความสามารถของผู้เรียนรู้แล้ว (กลุ่มรอบรู้) กับผู้ที่ยังไม่เรียน (กลุ่มไม่รอบรู้)
อำนาจจำแนกตามวิธีของคริสปีน และเฟลด์ลูเซน
ความเที่ยงตรงของแบบทดสอบอิงเกณฑ์
ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา
พิจารณาความสอดคล้องระหว่างข้อสอบแต่ละข้อกับจุดประสงค์ที่กำหนด (item objective congruence : IOC)
ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง
จะทราบความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างก็ต่อเมื่อนำข้อสอบกับกลุ่มตัวอย่าง
ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบอิงเกณฑ์
การตรวจสอบคุณภาพมาตราส่วนประมาณค่า
ความเที่ยงตรงของมาตราส่วนประมาณค่า
ความเที่ยงตรงของเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลแบบมาตราส่วนประมาณค่านี้พิจารณาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา
อำนาจจำแนกของแบบมาตราส่วนประมาณค่า
ประสิทธิภาพของข้อ (item) ในการจำแนกผู้ตอบออกมาเป็นผู้ที่มีคุณลักษณะตามที่เครื่องมือนั้นวัดได้สูงกับผู้ที่มีคุณลักษณะตามที่เครื่องมือนั้นวัดได้
การหาค่าอำนวจจำแนก โดยวิธีการทดสอบค่าที (t-test)
แบ่งกลุ่มผู้ตอบออกเป็น 3 กลุ่ม
กลุ่มสูง
กลุ่มกลาง
และกลุ่มต่ำ
นำคะแนนแต่ละข้อมาหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มสูง และกลุ่มต่ำ
เรียงลำดับคะแนนจากผู้ที่ได้คะแนนรวมสูงสุดลงมาถึงคะแนนรวมต่ำสุด
นำแต่ละข้อมาหาค่าที โดยคำนวณจากสูตร
ตรวจให้คะแนนแต่ละข้อ ผู้ที่ได้คะแนนรวมสูงแสดงถึงการมีคุณลักษณะในด้านเครื่องมือนั้นวัดสูง ส่วนผู้ที่ได้คะแนนรวมต่ำแสดงถึงการมีคุณลักษณะในด้านที่เครื่องมือนั้นวัดต่ำ
การหาค่าอำนาจจำแนก โดยวิธีการหาค่าสหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนรายข้อกับคะแนนรวม (item total correlation)
เป็นการตรวจสอบความสอดคล้องของคะแนนรายข้อกับคะแนนรวมทั้งฉบับ โดยการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
ความเชื่อมั่นของมาตราส่วนประมาณค่า
ครอนบาค (Cronbach) ได้ดัดแปลงวสูตร KR-20 แล้วเสนอสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟา (coefficient alpha)
การตรวจสอบคุณภาพการสังเกต
ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา
การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกต
จะต้องมีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา
พิจารณา 3 ประการ
วิธีที่ใช้สังเกต จะต้องพิจารณาว่าข้อมูลที่ไปสังเกตนั้นควรใช้วิธีการสังเกตอย่างใดจึงจะได้ข้อมูลตรงกับความเป็นจริง
ผู้สังเกต จะต้องพิจารณาว่าผู้สังเกตมีความรู้ความสามารถและความเที่ยงตรงหรือไม่
ความสอดคล้อง ชัดเจน และครบถ้วน
ความเชื่อมั่น
ความเชื่อมั่นของการสังเกตเป็นความสอดคล้องของการสังเกต ซึ่งอาจจะสังเกตคนเดียวในเวลาที่ต่างกัน หรือสังเกตพร้อม ๆ กับคนในเวลาเดียวกันก็ได้
วิธีให้ผู้สังเกตคนเดียวสังเกตในเวลาที่ต่างกัน
ใช้ผู้สังเกตหลายคนสังเกตพฤติกรรมเดียวกันในกลุ่มเดียวกัน
การตรวจสอบคุณภาพการสัมภาษณ์
ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา
เครื่องมือวัดได้ตรงตามเนื้อหาและครอบคลุมครบถ้วนตามเนื้อหาที่ต้องการวัด
ความเชื่อมั่น
ความสามารถของเครื่องมือ ที่จะแสดงใช้วัดซ้ำ ๆ หลาย ๆ ครั้งแล้ว จะยังให้ผลเหมือนเดิม วิธีการตรวจสอบความเชื่อมั่นมีหลายวิธี ดังนี้
คนสัมภาษณ์หลายคนสัมภาษณ์ข้อมูลเดียวกัน
ใช้คนสัมภาษณ์หลาย ๆ คน สามารถคำนวณได้ 2 วิธี
การหาสัมประสิทธิ์ความสอดคล้องโดยใช้สูตร kendell
วิธีวิเคราะห์ความแปรปรวนตามวิธีของฮอยท์
การสัมภาษณ์ซ้ำ
จะใช้ผู้สัมภาษณ์คนเดียวไปสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง 2 ครั้ง
ความเที่ยงตรงของมาตราส่วนประมาณค่า