6P ระยะที่ 2 : หญิงตั้งครรภ์ อายุ 27 ปี GA 40+2 G1P0 EDC 28/8/65

3.Passenger

1.Power

4.Psycological Codition

5.Physiology Condition

2.Passage

6.Position

Primary power

Secondary power

Soft Passage

Bony Passage

การจัดท่า มีอิทธิพลต่อความถี่และคุณภาพการหดรัดตัวของมดลูกที่มีประสิทธิภาพมากสุด คือ ท่ายืน ท่านั่ง ท่าเดิน เพราะแรงโน้มถ่วงโลกช่วยส่งเสริมการเคลื่อนต่ำของส่วนนำ ระยะเวลาการคลอดจึงลดลง ท่าที่มีประสิทธิภาพรองลงมาคือ ท่านอนตะแคง

อายุที้เหมาะสมในการตั้งครรภ์ อายุช่วง 18-35 ปี

<17 ปี อาจมีกระดูกช่องเชิงกรานที่แคบ

35 ปี อาจมีกล้ามเนื้อที่หย่อนตัว ช่องเชิงกรานขยายได้ไม่ดีอาจจะทำให้ทารกอยู่ในท่าที่ผิดปกติได้

BW >70kg. / BMI>26.1 kg/m2 มีความเสี่ยงในการคลอดที่ยาวนานเนื่องจากการยืดขยายของช่องเชิงกรานขยายไม่ดี

ความสูง < 145 เซนติเมตร มีความเสี่ยงต่อการคลอดเพราะอาจมีภาวะที่ศีรษะทารกไม่ได้สัดส่วนกับช่องเชิงกราน

สภาพจิตใจ หรือ Psychological หมายถึง สภาพจิตใจ
ของผู้คลอดมีผลต่อความก้าวหน้าของการคลอด โดยผู้คลอดที่มีเจตคติที่ดีต่อการตั้งครร์ การเจ็บครรภ์ และการคลอด หรือผู้คลอดที่ได้รับการเตียวตัวการคลอดที่ดีจะสามารถเผชิญกับความเครียด สามารถควบคุมความกลัวและความเจ็บปวดในระยะคลอดได้ดี ทำให้การคลอดดำเนินไปตามปกติ

ผู้คลอดที่มีความกังวลสูงจะกระตุ้นให้มีการหลั่ง Catecholamine เพิ่มขึ้น ส่งผลให้การทำงานของมดลูกลดลงเป็นสาเหตุให้เกิดการคลอดล่าช้าหรือการคลอดหยุดชะงัก

หญิงรอคลอดมีความสมบูรณ์ด้านร่างกายไม่มีประสบการณ์ในการคลอดบุตรมาก่อนและได้รับการเตรียมความพร้อมในระยะที่ 1 ทั้งการเผชิญความเจ็บปวดจากการเจ็บครรภ์ที่ถี่เพิ่มขึ้นในระยะที่ 2 ทำให้สามารถควบคุมสติและเผชิญกับความเจ็บปวดได้อย่างเหมาะสม มีแรงในการเบ่งที่ดีทำให้สามารถผ่านระยะเวลาในการคลอดระยะที่สองได้

หญิงรอคลอดรายนี้ น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ 63 Kg. ส่วนสูง 158 cms. BMI (ก่อนตั้งครรภ์) = 25.24 kg/m2 มารดามีส่วนสูงที่ไม่ได้ถือว่าเสี่ยงต่อการคลอดบุตรยากเนื่องจากมีสัดส่วนกับช่องเชิงกรานปกติ อีกทั้งน้ำหนักไม่เสี่ยงต่อการยืดขยายของช่องทางคลอด มารดาอายุ 27 ปีถือว่าอายุอยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมกับการตั้งครรภ์ กระดูกเชิงกรานเจริญสมบูรณ์ ศีรษะทารกสามารถเข้าช่องเชิงกรานได้ส่งผลให้คลอดปกติได้

มดลูกมีการหดรัดตัวที่ดีทำให้ทารกมีการเคลื่อนต่ำเกิดความก้าวหน้าของการคลอด เริ่มมีอาการเจ็บครรภ์จริง น้ำเดิน และมีมูกเลือดเวลา 04.30 น. มาถึงโรงพยาบาลเวลา 06.30 น. ได้ทำการตรวจภายใน Cx.2 cm Eff 25% St.-1 เวลา 11.55 ทำการตรวจภายในอีกรอบ Cx. 8 cm Eff 100% St.0 หญิงตั้งครรภ์เริ่มเจ็บครรภ์มากอยากเบ่ง ได้ย้ายไปที่ห้องคลอด 12.00 น. พบว่า Fully ได้ทำการกระตุ้นให้เบ่งคลอด

หญิงตั้งครรภ์มีแรงแบ่งที่ดี มีการเบ่งที่ถูกต้องขณะที่มดลูกมีการหดตัวสังเกตได้จากการมี Gaping of valva ฝีเย็บตุง บาง มัน วาว Anus บางออก ขณะที่เบ่งไม่ออกเสียง คางชิดอก มดลูกหดรัดตัว 1 ครั้งสามารถที่จะเบ่งได้ 2-3 ครั้ง

Pelvic cavity

Pelvic outlet

จากการตรวจครรภ์ในท่าที่ 3 และท่าที่ 4 พบว่าส่วนนำของทารกเคลื่อนต่ำลงมาสู่ช่องเชิงกราน

หญิงรอคลอดรายนี้ไม่มีความผิดปกติของ Pelvic cavity เนื่องจากทารกสามารถที่เคลื่อนต่ำลงมาสู่ช่องเชิงกรานได้และหมุนศีรษะภายในอุ้งเช้งกรานได้

ลักษณะของกล้ามเนื้อช่องคลอดมีลักษณะที่นุ่มแต่มีการยืดขยายของฝีเย็บไม่ดีจึงพิจารณาตัดฝีเย็บ เพื่อให้ช่องคลอดกว้างขึ้นให้ทารกสามารถที่จะคลอดได้

หญิงรอคลอดรายนี้พบความผิดปกติของช่องทางออกเนื่องจากหญิงรอคลอดได้ทำการตัดฝีเย็บเพราะว่าทารกมีขนาดที่ใหญ่กว่าช่องทางออกของ

จากการตรวจครรภ์ HF 35 cm. (ปกติ 32-36) ท่า ROA HE St.0 แสดงว่าทารกมีขนาดตัวปกติ ขณะถึงกลไก Expulsion ทารกสามารถคลอดออกมาได้โดยไม่ติดขัด

จากการตรวจครรภ์และ PV พบว่าส่วนนำคือ vertex ขณะเกิดกลไก Extension ศีรษะคลอดตาม SOB ,OF, OM ตามกลไกการคลอด

ทารกอยู่ในแนว Longitudinal ie สามารถคลอดผ่านช่องคลอดได้

ทารกอยู่ในท่า Flexion attitude คือศีรษะเด็กจะก้ามคางชิดอกหลังโค้งงอมาข้างหน้า มือกอดอก ขางอขึ้น ต้นขาชิดหน้าท้อง

ส่วนนำของทารก คือ ศีรษะแสดงว่าส่วนที่ต่ำที่สุดและทารกเอาส่วนที่ก้มต่ำลงคือ ศีรษะ

สภาพร่างกายปกติดี มีอาการอ่นเพลียเล็กน้อย และเหนื่อยล้าเล็กน้อย

หญิงตั้งครรภ์ได้รับยา Syntocinon 10 Unit in 5% D/N/2 1,000 ml 10 drop/min

สำหรับหญิงรอคลอดรายนี้มีการจัดท่า Dorsal recumbent ในการคลอด เนื่องจากสามารถแยกขาได้กว้าง ง่ายต่อการทำคลอดได้สะดวก และสามารถฟัง FHS ได้ชัดเจน