Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พรบ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 - Coggle Diagram
พรบ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
หมวด 1 ความมุ่งหมายและหลักการการศึกษา
การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนกรรม
กระบวนการเรียนรู้ ว่าด้วย การเมืองการปกครอง รู้จักรักษาและส่งเสริมสิทธิหน้าที่ เสรีภาพ ความเคารพกฎหมายความเสมอภาคและภาคภูมิใจในความเป็นไทย
การจัดระบบ โครงสร้างและกระบวนการจัดการศึกษา ให้ยึดหลักดังนี้
มีเอกภาพด้านนโยบาย และมีความหลากหลายในการปฏิบัติ
มีการกระจายอำนาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษาและองค์กรปกครองส่วนทอ้งถิ่น
มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาและจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษา ทุกระดับและประเภทการศึกษา
มีหลักการส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาและการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ระดมทรัพยากรจากแหล่งต่าง ๆ มาใช้ในการจัดการศึกษา
การมีส่วนร่วมของบุคคลครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถาบันศาสนา สถานประกอบการ
การจัดการศึกษาให้ยึดหลัก ดังนี้
เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน
ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกัน ในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า 12 ปี ไม่เก็บค่าใช้จ่าย
บุคคลซึ่งมีความบกพร่องทางร่างกาย ตั้งแต่เกิด ไม่เก็บค่าใช้จ่าย
บิดา มารดา หรือผู้ปกครอง มีสิทธิได้ร้บสิทธิประโยชน์ดังต่อไปนี้
การสนับสนุนจากรัฐใหม่ความรู้ความสามารถในการอบรมเลี้ยงด
เงินอุดหนุนจากรัฐสำหรับการจดัการศึกษาขั้นพื้นฐานของบุตร
การลดหย่อนหรือยกเว้นภาษีสำหรับค่าใช้จ่ายการศึกษา
หมวด 3 ระบบการศึกษา
การจัดการศึกษามี 3 รูปแบบ
1. การศึกษาในระบบ
กำหนดจุดมุ่งหมายวิธีการศึกษา หลักสูตรระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล
2. การศึกษานอกระบบ
คือ การศึกษาที่มีความยดืหยุ่น ในการกำหนดจุดมุ่ง หมาย วิธีการจัดการศึกษาระยะเวลาของการศึกษา
การวดัและประเมินผล โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของบุคคลแต่ละกลุ่ม
3. การศึกษาตามอัธยาศัย
คือ การศึกษาที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อม และโอกาส
นอกจากนี้รัฐยังกำหนดให้มีการศึกษาภาคบังคับ คือ มีการ กำหนดให้เด็กต้องเรียนจำนวน 9 ปี โดยให้เด็กซึ่งมีอายุย่าง
เข้าปีที่ 7 เข้าเรียนในสถานศึกษาข้ันพื้นฐานจนอายุย่างเข้าปีที่ 16
หมวด 5 การบริหารและการจัดการศึกษา
แบ่งออกเป็น3 ส่วนดังนี้
การบริหารและจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การบริหารและจัดการศึกษาของเอกชน
การบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐ
หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
ระบบการประกนัคุณภาพภายใน
ให้มีการประเมินทุกปีโดยมีการจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด
สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
มีหน้าที่เป็นองค์การมหาชนทำหน้าที่พัฒนาเกณฑ์ วิธีการประเมิ คุณภาพภายนอก ประเมินผลการจัดการศึกษา
ระบบประกันคุณภาพภายนอก
ให้ประเมินอย่างน้อย 1 ครั้ง ในทุกๆ 5 ปี นับแต่การประเมินครั้งสุดท้าย และเสนอผลการประเมินต่อสาธารณชน
หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา
การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมี "ความสำคัญที่สุด"
ต้องเน้นความสำคญั ทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ และบูรณาการตามความเหมาะสม
ความรู้ตนเองและความสัมพนัธ์ของตนเองกับสังคม
ความรู้และทักษะด้านวทิยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความรู้เกี่ยวกับศาสนาศิลปะวัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญาไทย
ความรู้และทักษะด้านคณิตศาสตร์และด้านภาษา
ความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพและการดำรงชีวติอย่างมีความสุข
การจัดกระบวนการเรียนรู้ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณและ
แก้ไขปัญหา
จัดกิจกรรมใหผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง
สอดค้ลองกับความสนใจและความถนัดของผเู้รียน
จดัการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ดา้นต่าง ๆ ให้สมดุลกัน
ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่
รัฐต้องส่งเสริมการดำเนินงานและการจัดต้้งแหล่งการเรียนรู้ตลอด ชีวติทุกรูปแบบ ได้แก่ ห้องสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ์ หอศิลป์ สวน สัตว์ อุทยานวทิยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนยก์ารกีฬา
หมวด 7 ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
ให้กระทรวงส่งเสริม
ให้มี กระบวนการผลิต การพัฒนาครู
คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษําให้มีคุณภาพและมาตรฐานที่เหมาะสมกับการเป็นวิชําชีพชั้นสูง
องค์กรวิชาชีพ
วิชาชีพครู วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา วิชาชีพ ผู้บริหารการศึกษา เป็นองค์กรอิสระภายใต้การบริหารของสภาวิชาชีพ ในกำกับของกระทรวง ศธ. มีหน้าที่ กำหนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบประกอบวิชาชีพ กำกับดูแลการปฏิบัติงาน
บุคลากรทางการศึกษาทั้งภาครัฐ และเอกชน
ต้องมีใบประกอบวิชาชีพ ยกเว้น บุคลากรทางการศึกษา กศน. ผู้บริหารการศึกษาระดับเหนือเขตพื้นที่การศึกษา วิทยาการพิเศษ และคณาจารย์สถานศึกษาอุดมศึกษา
หมวด 8 ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
ให้มีการระดมและการลงทุน
ด้านงบประมาณ การเงิน ทรัพย์สินจากรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และองค์กรอื่นมาใช้ในการจัดการศึกษา
รัฐจัดสรรงบประมาณแผ่นดิน
ดังนี้ 1. งบประาณทั่วไป 2. ทุนการศึกษาในรูปแบบกองทุนกู้ยืม 3. งบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษาอื่นๆ 4. ค่าใช้จ่ายดำเนินการ 5. เงินอุดหนุน 6. กองทุนเพื่อพัฒนาการศึกษา
หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
พัฒนาบุคลากรทั้งด้านผู้ผลิต และผู้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนําขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิตและพัฒนาแบบเรียน
ส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนา การผลิต และการพัฒนา
เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
รัฐต้องจัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนำ และโครงสร้างพื้นฐานอื่น