Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Job Development of Nurse Director - Coggle Diagram
Job Development of Nurse Director
หัวหน้าฝ่ายการพยาบาล
บทบาท
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง : นิศมา ภุชคนิตย์. (2020). ปัจจัยที่มีผลต่อสมรรถนะของหัวหน้าหน่วยงานด้านการพยาบาลในการบริหารระบบคุณภาพโรงพยาบาลในจังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข, 30(1).
ควรแสดงออกด้วยการสื่อสารที่มุ่งสร้างแรงบันดาลใจเพื่อให้เกิดแรงจูงใจในการทำงาน ทำให้หัวหน้าหน่วยงานด้านการพยาบาลเกิดความกระตือรือร้นในงาน มีความรู้สึกว่ามีความสำคัญต่อองค์กร รวมทั้งกระตุ้นให้หัวหน้า งานได้ค้นหาวิธีการแก้ไขปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงถึงความสามารถ ข้อจำกัดและศักยภาพของหัวหน้า หน่วยงานด้านการพยาบาลแต่ละคนให้มากขึ้น
หัวหน้าหน่วยงานด้านการพยาบาลควรเพิ่มการทำงานเป็นทีมภายในหน่วยงาน เน้นสร้างความร่วมมือใน การวางแผน ดำเนินการตามแผน ตลอดจนรับรู้ถึงผลงาน ปัญหาอุปสรรคต่างๆ แก้ปัญหาร่วมกันกับบุคลากรใน หน่วยงาน เพิ่มการควบคุมคุณภาพงานเพื่อหาโอกาสปรับปรุงอย่างสม่ำเสมอ
ควรส่งเสริมและสนับสนุนให้หัวหน้าหน่วยงานด้านการพยาบาลเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการคุณภาพของโรง พยาบาลให้มากขึ้น มีส่วนร่วมในการวางแผนและการประเมินผลติดตามการดำเนินงานตามแผนงานของคณะ กรรมการในระบบคุณภาพ พร้อมร่วมวิเคราะห์ปัญหาและเสนอแนวทางเมื่อผลลัพธ์ไม่เป็นไปตามเป้าหมายตาม แผนที่คณะกรรมการระบบคุณภาพกำหนดไว้ให้เพิ่มมากขึ้น
บทบาทด้านบริหารงานบุคคล
จัดทำแผนผังพัฒนาบุคลากร
วิเคราะห์งานเพื่อกำหนดอัตรากำลัง
บทบาทการบริหารงบประมาณ
กำหนดงบประมาณหน่วยงานให้ชัดเจน
กำหนดงบประมาณในการพัฒนาบุคลากร
บทบาทผู้ประสานงาน
ประสานงานเพื่อร่วมคิดร่วมทำ
บทบาทการฟื้นฟู ริเริ่ม
เป็นผู้นำในการนำนโยบายด้านการปฏิบัติ
จัดตั้งกลุ่มการทำงานทั้งบุคลากรและผู้ใช้บริการ
บทบาทผู้นิเทศน์
ให้ความรู้ชี้แนะแก่บุคลากร
กระตุ้นสนับสนุนกำกับให้บุคลากรทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
บทบาทผู้นำการเปลี่ยนแปลง
เป็นผู้นำในการปรับทัศนคติ
สร้างพลังกลุ่ม
บทบาทด้านข้อมูลข่าวสาร
ให้ข้อมูลข่าวสารในการจัดอัตรากำลัง
พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารโดยใช้แนวคิดผู้ใช้บริการเป็นศูนย์กลาง
บทบาทการบริหารงาน
กำหนดนโยบายระดับหอผู้ป่วยที่สอดคล้องกับนโยบายโรงพยาบาล
กำหนดพื้นที่รับผิดชอบให้ชัดเจน
คุณลักษณะ
งานวิจัยทักษะการบริหารงาน
(ขวัญใจ ภูมิเขต. 2562)
การบริหารงานบุคคล
การพัฒนาบุคลากรด้วยการฝึกอบรม
การสร้างขวัญและกำลังใจให้กับบุคคล
สร้างการทำงานเป็นทีมโดยแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบตามความสามารถ
ยืดหยุ่นในการทำงาน
ใช้ใช้กฎระเบียบในการควบคุมและตักเตือนบุคลากร
การบริหารงบประมาณ
การบริหารทรัพยากร
การบริหารจัดการ
การวางแผน
การจัดองค์กร
มีภาวะผู้นำในด้านการจุงใจการมอบหมายงานการสื่อสารการจัดการความขัดแย้งในการขอความช่วยเหลือในการปฏิบัติงาน
การประเมินผล
มีเป้าหมายการทำงานที่ชัดเจน
มีพัฒนาตนเองตลอดเวลา
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
มีคุณธรรมจริยธรรม
มีความเฉลียวฉลาด
มีความกล้าและมีความคิดสร้างสรรค์
สร้างการยอมรับและความศรัทธาจากประชาชน
มีทักษะในการบริหารจัดการ
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
สาเหตุ
สภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงหน่วยงานเพื่อรักษาความอยู่รอดของหน่วยงาน
ความหมาย : การจัดการกับเหตุการณ์ทั้งภายในและภายนอกองค์กร เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
แนวทาง
ผู้บริหารต้องเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง เป็นตัวอย่างที่ดีแสดงบทบาทสนับสนุน ริเริ่มกระตุ้นความเปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้น วางแผนล่วงหน้าเพื่อรองรับกับทุกสถานการณ์อย่างเหมาะสม
รูปแบบ
การเปลี่ยนแปลงเชิงรุก : การเปลี่ยนแปลงตนเองก่อนที่จะได้รับการเปลี่ยนแปลงจากผู้อื่น อาศัยการวิเคราะห์สถานการณ์
การเปลี่ยนแปลงเชิงรับ : เป็นการถูกเปลี่ยนแปลงโดยผู้อื่น จากต้นสังกัด หรือนโยบายขององค์กร
กระบวนการ
ช่วงการเปลี่ยนแปลง : เป็นการเรียนรู้เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรมใหม่
ช่วงตกผลึกอีกครั้ง : เป็นช่วงที่พฤติกรรมที่ได้จากการเรียนรู้ ต้องมีการเสริมแรงให้พฤติกรรมอยู่อย่างยั่งยืน
ช่วงละลายพฤติกรรม : ความพยายามละลายระบบ หรือพฤติกรรมเดิม
การจัดอัตรากำลังคน
ความสำคัญและประโยชน์
กำหนดปริมาณอัตรากำลังในการดูแลผู้ป่วยให้มีความเพียงพอ และมีประสิทธิภาพ
เมื่อมีการจัดอัตรากำลังที่เหมาะสม ทำให้เกิดผลบรรลุเป้าหมาย
แนวทางและกระบวนการในการจัดอัตรากำลังคน
การวางแผนการจัดอัตรากำลังคน
จัดกำลังคนให้เพียงพอต่อภาระงาน
การจัดตารางปฏิบัติงาน
มีการสำรวจงาน เช่น สำรวจจำนวนผู้ป่วย เพื่อนำไปเป็นแผนการจัดกำลังคน หากกำลังคนไม่เพียงพออาจจะนำจำนวนผู้ป่วยมาเฉลี่ย เพื่อให้เหมาะสมกับกำลังคนและภาระงาน
มีการสำรองกำลังคน กรณีมีเหตุฉุกเฉิน เช่น ลาป่วยไม่สามารถทำงานได้
การจัดการงบประมาณ
วิชาญ ปรัสพงษ์. (2559) ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยธุยา กล่าว่า
แผนการดำเนินงานในการจัดหาเงินมาใช้ในกิจการ จะแสดงเป็นตัวเลขในรูปของจำนวนหน่วย
ความหมาย
: การจัดการ การแบ่งปัน และการกระจายทรัพยากรที่ขาดแคลนตามความต้องการพื้นฐานให้หน่วยงานสามารถดำเนินงานตามเป้าหมายได้
ชนิดของงบประมาณ
งบบุคคลากร
รายจ่ายที่กําหนดให้จ่ายเพื่อการบริหารงานบุคคลภาครัฐ
เงินเดือน
เงินที่จ่ายให้แก่เจ้าหน้าที่ภาครัฐ พนักงานของรัฐทุกประเภทที่เป็นการ ว่าจ้างและจ่ายเงินค่าจ้างเป็นรายเดือน โดยมีอัตราที่กําหนดไว้แน่นอน
ค่าจ้างประจำ
เงินที่จ่ายเป็นค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างประจําของหน่วยงานภาครัฐ
ค่าจ้างชั่วคราว
เงินที่จ่ายเป็นค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างชั่วคราวของหน่วยงานภาครัฐ
งบดำเนินการ
รายจ่ายที่กําหนดให้จ่ายเพื่อการบริหารงานประจํา
ค่าตอบแทน
เงินที่จ่ายตอบแทนให้แก่ผู้ที่ปฏิบัติงานให้หน่วยงานภาครัฐ เช่น ค่าเช่าบ้าน ค่าตอบแทนในตําแหน่งและเงินอื่นๆ ได้แก่ กํานัน ผู้ใหญ่บ้าน เป็นต้น
ค่าใช้สอย
รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งบริการ เป็นรายจ่ายเกี่ยวกับการรับรองและพิธีการ
ค่าวัสดุอุปกรณ์
เช่นสิ่งของที่ใช้แล้วสิ้นเปลือง หรือสิ่งของที่ใช้แล้วมีอายุการใช้งานจำกัด
ค่าสาธารณูปโภค
ค่าใช้จ่ายซึ่งบริการสาธารณูปโภค การสื่อสารและโทรคมนาคม
งบลงทุน
รายจ่ายที่กําหนดไว้ให้จ่ายเพื่อการลงทุน ได้แก่ ค่าครุภัณฑ์(วัสดุ/อุปกรณ์ ที่ มีอายุการใช้งานนานกว่า 1 ปี และมีราคามากกว่า 5,000 บาท) ค่าที่ดิน และสิ่งก่อสร้า
งบเงินอุดหนุน
รายจ่ายที่กําหนดจ่ายเป็นค่าบํารุง หรือเพื่อการช่วยเหลือสนับสนุนการ ดําเนินงานของหน่วยงานของรัฐ
งบเงินสด
เป็นการจัดทํางบเงินเพื่อให้ทราบถึงกระแสเงินสดทั้งที่เป็นรายรับและรายจ่ายทําให้ สามารถวางแผนทางการเงินเพื่อควบคุมการดําเนินงานขององค์การได้
งบแผนงาน
เป็นงบที่หน่วยงาน องค์กรได้วางแผนในแต่ละปีตามแผนการปฏิบัติงาน
ประโยชน์ขอ
การจัดการงบประมาณ
ช่วยในการวางแผนการปฏิบัติงาน
ช่วยในการประสานงานและเกิดความร่วมมือ
ช่วยการจัดสรรทรัพยากรให้ทั่วถึงและเท่าเทียม
ช่วยในการควบคุมดำเนินงาน
ช่วยในการประเมินผลการปฏิบัติงาน และเกิดแรงกระตุ้นในการทำงาน
บทบาทผู้บริหารการพยาบาล หรือหัวหน้าพยาบาล ในการจัดการงบประมาณ
ดังนี้
ร่วมกําหนดพันธกิจ นโยบาย เป้าหมายในการจัดทําและจัดสรรงบประมาณ
จัดทํางบประมาณของกลุ่มการพยาบาล
ร่วมเป็นคณะกรรมการพิจารณางบประมาณ
บริหารงบประมาณ ควบคุมค่าใช้จ่าย
จัดทําคู่มืองบประมาณ
วางแผน/จัดให้มีการพัฒนาความรู้เกี่ยวกันการเงินและงบประมาณ
การวางแผนกลยุทธ์
ลักษณะ
เป็นการมุ่งเน้นนการวางแผนในอนาคต
มุ่งเน้นการวางแผนในระยะยาว
บริหารแบบองค์รวมเพื่อให้เกิดการสำเร็จในระยะยาว
ขั้นตอน
ขั้นก่อนการดำเนินงาน
ขั้นดำเนินงาน
ขั้นปฏิบัติการตามแผนงาน
ขั้นติดตามผล
ประโยชน์
ทำให้แผนมีการชัดเจน
มีระเบียบในการปฏิบัติงาน
ทำให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ มีเเผนรองรับในระยะยาว
มีเเนวทางในการปฏิบัติงาน มุมมองในองค์กรค์กว้างขึ้น
ช่วยประหยัดแรงงาน วัสดุ ระยะเวลา
กำหนดทิศทางการทำงานขององค์กร ช่วยให้คนในองค์กรมีรูปแบบการทำงานที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
ปัญหาที่เกิดขึ้น
การวางกรอบมากเกินไป
ทำให้สมาชิกไม่เกิดความคิดสร้างสรรค์
เกิดการจำกัดกรอบความคิด
3 ประเภท
1.แบ่งตามระยะเวลา
2.แบ่งตามลักษณะความสำคัญ
3.แบ่งตามกิจกรรม
ทำไมต้องวางแผนกลยุทธ์
1.เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปในทางเดียวกัน
2.เกิดผลสำเร็จในการดำเนินงานระยะยาว
3.องค์กรมีกรอบและทิศทางในการดำเนินงานระยะยาว
3.องค์กรมีกรอบและทิศทางในการดำเนินงานที่ชัดเจน เพื่อให้มีการใช้กลยุทธ์ที่เหมาะสมกับองค์กร
แผนปฏิบัติการ
แผนระยะสั้น เช่น การวางแผนการทำงานรายวัน รายเดือน แผนประจำปี
ความสำคัญ
ทำให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างบรรลุวัตถุประสงค์ เนื่องจากเป็นแผนระยะสั้นทำให้ประเมินได้ง่ายเเละรวดเร็ว