Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิดทันที, นางสาวกัญญารัตน์ สิงห์ธรรม เลขที่ 25 รุ่นที่ 28…
การพยาบาลทารกแรกเกิดทันที
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของทารกแรกเกิด
ระบบการหายใจ
ปัจจัยที่ช่วยกระตุ้นให้เกิดการหายใจ
เคมี : การตัดและผูกสายสะดือ
อุณหภูมิ : การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิจากในครรภ์มารดาสู่สิ่งแวดล้อมภายนอก
รับความรู้ : การสัมผัส การดูด สารคัดหลั่ง กระตุ้นให้ร้องด้วยแสงและเสียงในห้องคลอด
กลศาสตร์: การคลอดทางช่องคลอด ทำให้ทรวงอกบีบรัด
ปกติอัตราการหายใจอยู่ ระหว่าง 40-60 ครั้ง/นาที อาจถึง 80
บางรายอาจฟังได้เสียง Murmur Ductus Arteriosus ยังปิดไม่สนิท
อาจมีการหยุดหายใจเป็นช่วงๆ แต่ไม่ควรนานเกิน 5-10 วินาที ไม่มี (Cyanosis)
ระบบหัวใจและไหลเวียนเลือด
Foramen ovale ปิดลงใน 1 -2 ชั่วโมง และกลายเป็น Fossa oval (ปิดสมบูรณ์ประมาณ 6 เดือนถึง 1 ปีหลังคลอด) หากช่องทางลัดไม่ปิดถือเป็นอาการ Arterial septal defect
ระบบเลือด
ปริมาตรเลือด : 80-85 มิลลิลิตร/นน.1 กิโลกรัม
RBCและHb: 14.5-22.5 mg/dl จากนั้น เหลือ 10 mg/dl RBC ประมาณ 4-6.6 ล้านเซลล์/ลบ.มม.
Hct : มีประมาณร้อยละ 52-65 มากกว่า 65 ถือว่า Polycythemia
WBC: 10,000-30,000 เซลล์/ลบ.ม เท่าผู้ใหญ่ 13-14 ปี
Platelet : 150,000-250,000 / m13
ระบบควบคุมอุณหภูมิร่างกาย
สูญเสียความร้อน
นำ: เช่น เครื่องชั่งที่เย็น ,พา : เช่น เครื่องปรับอากาศ
แผ่รังสี : เช่น ใกล้หน้าต่างที่เย็น ,ระเหย : เช่น น้ำคร่ำ
ระบบภูมิคุ้มกัน
T-cell มีน้อยกว่าในผู้ใหญ่ 46%
B-cell จะได้ Antibody จากมารดาตั้งแต่อยู่ในครรภ์ แต่ภายหลังคลอดภูมิคุ้มกันจะลดลงอย่างรวดเร็ว , IgA ไม่ผ่านรก
ระบบทางเดินอาหาร
กระเพาะ 10-20 ml และลำไส้บีบตัวเร็วทำให้อาหารถูกย่อยได้เร็วทำให้ทารกหิวบ่อย
ตับอ่อนสร้าง Amylase มาใช้ในการย่อยไม่ดี ต้องใช้เวลา ~3 เดือน
ระบบขับถ่าย
หลังคลอดทารกควรปัสสาวะภายใน 24-48 hr.
ไตกรองต่ำ : พบน้ำตาลและโปรตีนในปัสสาวะได้
การขับถ่ายขี้เทาภายใน 24-48 Hrs.
ระบบต่อมไร้ท่อ
น้ำนมไหลออกมาด้วย เรียกว่า Witches milk กระตุ้นจากฮอร์โมนโปรแลคติน
ได้รับเอสโตรเจนจากแม่เพศหญิง อาจมีประจำเดือนเทียมและอวัยวะเพศบวม
ระบบควบคุมสมดุลของน้ำและอิเลคโทรไลท์
ปริมาณน้ำในร่างกายทั้งหมดประมาณ 75% ของน้ำหนักตัว ลดลงเรื่อยๆ จนเท่าผู้ใหญ่ เมื่ออายุหลัง 1 ปี
ระบบประสาท
เห็น: แรกคลอด ประมาณ 8 นิ้ว
การได้ยินเสียง:ทันที แยกทิศไม่ได้ 90 dB
กลิ่น: จำกลิ่นน้ำนมมารดาได้ใน 2-3 วันแรก
รับสัมผัส: มีมากใน 30-45 นาทีแรก
รับรส: ที่ปลายลิ้นชอบรสหวาน
แรกคลอดพ้นจากครรภ์มารดา- 28 วัน
การประเมินสภาพทารกแรกเกิด
1. การซักประวัติ
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดของมารดา
การตั้งครรภ์เสี่ยงสูง ,ความเจ็บป่วยของมารดา
การตั้งครรภ์และการคลอดในอดีต ,ตั้งครรภ์ปัจจุบัน
การประเมินสภาพทารกแรกเกิดโดยใช้ Apgar scoring system
ประเมินจากลักษณะ
สีผิวหนัง - การหายใจ - การเต้นของหัวใจ
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ - ปฏิกิริยาเมื่อถูกรบกวน
แปลผล
8-10 : Good condition , 4-7 : ทารกอยู่ในภาวะขาดออกซิเจนเล็กน้อยถึงปานกลาง ให้ Oxygen mask,
0-3 : ขาดออกซิเจนรุนแรง ใช้เครื่องช่วยหายใจช่วย
3. (Neurological Assessment)
Primitive base reflex
Rooting เขี่ยริมฝีปากหรือข้างแก้มจะหันหน้าและปากเข้าหาสิ่งกระตุ้น
Sucking reflex (ดูด) - Swallowing reftlex (การกลืน)
Moro retlex (ผวาหรือตกใจ) - Grasp reflex เมื่อสอดนิ้วในอุ้งมือทารก ทารกจะงอหรือกำสิ่งนั้นไว้ชั่วขณะ
-Stepping reflex ถ้าอุ้มให้ศีรษะทารกเอียงไปข้างหน้าเล็กน้อย ทารกจะทำท่าเดินทีละก้าว
Tonic neck re1lex (การตอบสนองต่อการจับศีรษะหันไปด้านใดด้านหนึ่ง)
Babinski sign (การตอบสนองต่อการเขี่ยฝ่าเท้า)
4. การประเมินสัญญาณชีพ
การประมินอุณหภูมิร่างกาย
การหายใจสม่ำเสมอ อัตรา 40 - 60 ครั้ง/นาที - อัตราการเต้นของหัวใจ 120 - 160 ครั้ง/นาที - ความดันโลหิต ซิสโตลิก60 - 90 mmHg ไดแอสโตลิก40 - 50 mmHg
5.Growth Assessment
การชั่งน้ำหนัก
การวัดสัดส่วนของร่างกาย
•ความสูง
•รอบศีรษะ
•รอบอก
6. การประเมินลักษณะของทารก
• คลอดก่อนกำหนด
• คลอดครบกำหนด
• คลอดเกินกำหนด
การพยาบาลทารกแรกเกิดทันที
1. การดูแลการหายใจ (Care to respiration)
นอนศีรษะต่ำ ดูดสารคัดหลั่งและน้ำคร่ำในช่องปากและจมูกอย่างรวดเร็ว
2. การรักษาระดับอุณหภูมิร่างกาย
ทันทีที่ทารกคลอดใช้ผ้าที่ทำให้อุ่นรับตัวทารกเช็วตัวให้แห้งทันที
3.การกวบคุมการติดเชื้อ (Infection control)
• ดูแลตา • ดูแลสะดือ
4.การระบุความเป็นบุคคลของทารกแรกเกิด (Identification)
ผูกป้ายชื่อและนามสกุลของมารดา ป้ายชื่อและนามสกุลของมารดา เพศ วัน เดือน ปี เวลาคลอด
5 การพยาบาลเพื่อส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก
ประเมินความพร้อมทารก
ส่งเสริมให้มารดาและทารกมองสบตากัน (eve to eve contact)
ส่งเสริมให้มีการตอบสนองโดยใช้เสียงของกันและกัน
ช่วยให้ทารกดูดนมมารดาโดยเร็วโดยยืดหลัก "ดูดเร็ว ดูดบ่อย ดูดถูกวิธี"
6. การป้องกันภาวะเลือดอกง่ายในทารกแรกเกิด
ทารกแรกเกิดทุกรายต้องได้รับวิตามิน K 1 mg ฉีดเข้ากล้ามเนื้อต้นขา เพื่อป้องกันภาวะเลือดออก
7.การให้ภูมิคุ้มกันโรค (Immunization) ในทารกแรกเกิด
BCG ,HBV
ตัวอย่างข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ทารกมีโอกาสเกิดภาวะอุณหภูมิร่างกาย ต่ำกว่าปกติเนื่องจากการสูญเสียความร้อนของร่างกายและการปรับตัวยัง ไม่ดี
การหายใจไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ เนื่องจากทางเดินหายใจยังไม่โล่ง มีสิ่งคัดหลั่งอุดกั้น ทำให้การแลกเปลี่ยนก๊าซ ไม่ดีพอ
เสี่ยงต่อการติดเชื้อ เนื่องจากสะดือเป็นแผลเปิดและระบบภูมิคุ้มกันทารกแรกเกิดยังไม่ดีพอ
เสี่ยงต่อการติดเชื้อที่ตา เนื่องจากการคลอด ผ่านทางช่องคลอดมารดาที่อาจมีเชื้อแบคที่เรียที่เป็นอันตรายต่อตาและระบบ ภูมิคุ้มกันทารกแรกเกิดยังไม่สมบูรณ์ดีพอ
นางสาวกัญญารัตน์ สิงห์ธรรม เลขที่ 25 รุ่นที่ 28 A