Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พ.ร.บ การศึกษาแห่งชาติ 9 หมวด 78 มาตรา - Coggle Diagram
พ.ร.บ การศึกษาแห่งชาติ 9 หมวด 78 มาตรา
หมวด 1 บททั่วไปความมุ่งหมายและหลักการ
การจัดการศึกษา
พัฒนาคนไทยให้เป็นคนสมบูรณ์แบบ
ด้านร่างกาย
ด้านจิตใจ
ด้านสติปัญญาและความรู้
ด้านคุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม
การจัดการศึกษาให้ยึดหลัก
สังคมมีส่วนร่วมในการพัฒนา
พัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
สำหรับประชาชนสามารถเข้ารับการศึกษาตลอดชีวิต
กระบวนการเรียน
ปลูกฝั่งจิตสำนึกทางการเมือง
เคารพต่อกฎหมายความเสมอภาค
รักษาสิทธิหน้าที่เสรีภาพ
ภาคภูมิใจในความเป็นไทย รักษาประโยชน์ส่วนร่วมและประเทศชาติ
การจัดระบบโครงสร้าง
และกระบวนการจัดการศึกษา
ระดมให้ทรัพยากรจากแหล่งต่าง ๆ
มาใช้ในการจัดการศึกษา
มีส่วนร่วมกับครอบครัว ชุมชนและองค์กรอื่น ๆ
มีเอกภาพนโยบายมีความหลากหลาย
มีการกระจายอำนาจของการศึกษาไปสู่เขตพื้นที่สถานศึกษาและองค์การปกครองท้องถิ่น
กำหนดมาตราฐานและจัดระบบ
ประกันคุณภาพการศึกษา
มีการส่งเสริมมาตราฐานวิชาชีครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
บุคคลมีสิทธิในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ไม่น้อยกว่า 12 ปี
บุคคลที่มีความบกพร่องด้านร่างกายตั้งแต่เกิด
จะไม่มีค่าใช้จ่ายในการรับการศึกษา
การรับการศึกษาสำหรับบุคคลที่มีความสามารถพิเศษ ต้องคำนึงถึงความเหมาะสมของความสามารถของบุคคลนั้น
บิดา มารดา หรือผู้ปกครอง มีสิทธิได้รับประโยชน์ ดังนี้
การสนัยสนุนจากรัฐในการเลี้ยงดู
เงินอุดหนุกจากรัฐสำหรับการศึกษาขั้นพื้นฐานของบุตร
การลดหย่อนภาษีค่าใช้จ่ายทางการศึกษา
บุคคลหรือองค์กรที่สนับสนุนการศึกษา มีสิทธิได้รับประโยชน์ ดังนี้
การสนัยสนุนจากรัฐในการเลี้ยงดู
เงินอุดหนุกจากรัฐสำหรับการศึกษาขั้นพื้นฐานของบุตร
การลดหย่อนภาษีค่าใช้จ่ายทางการศึกษา
หมวด 3
ระบบการศึกษา
การศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาระดับอุดมศึกษา
การศึกษาในระบบ
วิธีการศึกษา
หลักสูตร
ระยะเวลาของการศึกษา
การวัดผลและประเมินผล
กำหนกจุดหมาย
เงื่อนไขการสำเร็จการศึกษาที่แน่นอน
เนื้อหาและหลักสูตรมีความเหมาะสมกับสภาพปัญหาและความต้องการของบุคคล
การศึกษานอกระบบ
กำหนดจุดมุ่งหมายรูปแบบ
มีความยืดหยุ่น
ระยะเวลาของการศึกษา
การวัดผลและประเมินผล
วิธีการศึกษา
การศึกษาด้วยตนเองตามความสนใจ
การศึกษาตามอัธยาศัย
หมวด 4
แนวทางการจัดการศึกษา
การจัดการศึกษาต้องยึดหลัก
ผู้เรียนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเอง
ถือว่า "ผู้เรียนสำคัญที่สุด"
การจัดการศึกษาเน้นความสำคัญ
ความรู้
คุณธรรม
กระบวนการเรียนรู้
บูรณาการตามความเหมาะสม
สถานศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สอดคล้องกับความสนใจและความถนัด
ฝึกทักษะกระบวนการคิด
ผู้เรียนได้ความรู้จากประสบการณ์จริง
ผสมผสานสาระความรู้ต่าง ๆ ให้สมดุลกัน
ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศเพื่อให้เกิดการเรียนรู้
จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่
รัฐต้องจัด
รูปแบบการส่งเสริมแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ห้องสมุด
หอศิลป์
สวนสาธารณะ
สวนสัตว์
พิพธภัณฑ์
สวนพฤษศาสตร์
อุทยานวิทยาศาสตร์
หมวด 5
การบริหารและการจัดการศึกษา
สภาการศึกษา
เสนอแผนการศึกษาแห่งชาติ
เสนอนโยบายและมาตราฐานการศึกษา
เสนอนโยบายแผนการสนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา
ให้ความคิดเห็นและคำแนะนำเกี่ยวกับกฎหมาย
สนง.คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เสนอนโยบายแผนการพัฒนาและมาตรฐานหลักสูตรแกนกลาง
สนง.คณะกรรมการการอาชีวศึกษา
เสนอนโยบายแผนพัฒนามาตรฐานและหลักสูตรการอาชีวศึกษา
การกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา
ด้านวิชาการ
งบประมาณ
การบริหารงานบุคคล
การบริหารงานทั่วไป
หมวด 6
มาตรฐานและการประกันคุณภาพ
การประกันคุณภาพภายใน
ประเมินทุกปี
ทำรายงานประจำปีเสนอหน่วยงานต้นสังกัด
การประกันคุณภาพภายนอก
ประเมินอย่างน้อย 1 ครั้งในทุก 5 ปี
การประเมินต้องเสนอผลการประเมินต่อสาธารณชน
หากสถานศึกษาไม่ผ่านการประเมิน ให้ สมศ. จัดทำข้อเสนอแนะสิ่งที่ต้องปรับปรุงต่อหน่วยงานต้นสังกัด เพื่อให้สถานศึกษาแก้ไขภายในระยะเวลาที่กำหนด
สำนักงานรับรองมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา
พัฒนาเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอก
ประเมินผลการจัดการศึกษา
หมวด 7
ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
องค์กรวิชาชีพ (คุรุสภา)
วิชาชีพครู
วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา
วิชาชีพผู้บริหารการศึกษา
องค์ภายในการบริหารของสภาวิชาชีพ
ในกำกับของกระทรวงศธ.
อำนาจหน้าที่
กำหนดมาตรฐานวิชาชีพ
ออกและเพิกถอนใบประกอบวิชาชีพ
กำกับดูแลการปฏิบัติงาน
พัฒนาวิชาชีพ
หมวด 8
ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
รัฐจัดสรรงบประมาณแผ่นดิน
งบประมาณทั่วไป
ทุนการศึกษารูปแบบกองทุนกู้ยืม
เงินอุดหนุนทั่วไป
จัดตั้งกองทุนเพื่อการศึกษา
กองทุนดอกเบี้ยขั้นต่ำในสถานศึกษาเอกชน
ค่าใช้จ่ายดำเนินการ
งบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษาอื่น
งบประมาณในการจัดการศึกษา
รัฐ
องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
องค์กรอื่น ๆ
หมวด 9
เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
รัฐบาลจัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนำและโครงสร้างพื้นฐาน
รัฐพัฒนาบุคลากรด้านผู้ผลิตและผู้ใช้เทคโนโลยี
ผู้เรียนมีสิทธิได้รับพัฒนาขีดความสามารถในการพัฒนาเทคโนโลยี
ส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนาการผลิตและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
ระดมทุนเพื่อจัดตั้งกองทุนเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา