Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 - Coggle Diagram
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
3.ระบบการศึกษา
การศึกษาในระบบ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
สถานพัฒนาเด็กเล็ก
โรงเรียน
ศูนย์การเรียน
การศึกษาระดับอุดมศึกษา
ระดับต่ำกว่าปริญญา
ระดับปริญญา
จัดในมหาวิทยาลัย สถาบันวิทยาลัย
หรือหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่น
การศึกษานอกระบบ
การแบ่งระดับตามที่กฎหมายกำหนดในกฎกระทรวง
การศึกษาตามอัธยาศัย
การแบ่งระดับตามที่กฎหมายกำหนดในกฎกระทรวง
6.มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
1.บททั่วไป
ความมุ่งหมายและหลักการ
ปลูกฝังจิตสำนึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมือง
การปกครอง ระบอบประชาธิปไตย
การจัดการศึกษา
การศึกษาตลอดชีวิต
สังคมมีส่วนร่วม
พัฒนาอย่างต่อเนื่อง
การจัดการศึกษาเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทย
ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ
การจัดระบบ โครงสร้าง
และกระบวนการจัดการศึกษา
กระจายอำนาจสู่เขตพื้นที่การศึกษา
สถานศึกษา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กำหนดมาตรฐานการศึกษา
และจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับ
นโยบายมีเอกภาพ เเละหลากหลายในการปฏิบัติ
ส่งเสริมมาตรฐานและพัฒนา
วิชาชีพครู คณาจารย์ และบุคคลากรทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
ระดมทุนมาใช้ในการศึกษา
การมีส่วนร่วมกับบุคคลอื่น
8.ทรัพยากร และการลงทุนเพื่อการศึกษา
2.สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
ทุกคนมีสิทธิและโอกาสเสมอกัน
ในการได้รับการศึกษา
ขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า 12 ปี โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
บุคคลที่มีความบกพร่องด้านร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา มีสิทธิและโอกาสได้รับการศึกษาจะเนพื้นฐานเป็นพิเศษ
สิทธิที่ผู้ปกครอง บิดา
มารดาได้รับดังนี้
เงินอุดหนุนจากรัฐสำหรับการศึกษาขั้นพื้นฐานของบุตร
การลดหย่อนหรือยกเว้นภาษีสำหรับค่าใช้จ่าย
การศึกษาตามกฎหมายกำหนด
การสนับสนุนจากรัฐในอบรมเลี้ยงดู และการให้การศึกษา
5.การบริหารและ
การจัดการศึกษา
ส่วนที่ 2 การบริหารและการจัดการศึกษา
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
มีหน้าที่จัดการศึกษาตามความพร้อม
ความเหมาะสม และความต้องการภายในท้องถิ่น
กระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมิน
ความพร้อม ประสานเเละส่งเสริมองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นให้จัดการศึกษาสอดคล้องกับนโยบายของรัฐ
ส่วนที่ 3 การบริหารและ
การจัดการศึกษาของเอกชน
การบริหารและการจัดกาศึกษามีความเป็นอิสระ
รัฐ กำกับติดตาม ประเมินคุณภาพและมาตรฐาน
การศึกษา
ส่วนที่ 1 การบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐ
กระทรวง มีอำนาจหน้าที่ส่งเสริมและกำกับดูแลการศึกษา การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท และการอาชีวศึกษาแต่ไม่รวมถึงระดับอุดมศึกษา
องค์กรหลัก 3 องค์กร ได้แก่ สภาการศึกษา คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม มีหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุน และกำกับการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ การวิจัยและการสร้างสรรค์นวัตกรรม
10.บทเฉพาะกาล
4.แนวการจัดการศึกษา
9.เทคโนโลยีการศึกษา
รัฐต้องสรรหา สนับสนุน พัฒนาแบบเรียนและ
เทคโนโลยีที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
ระดมทุน จัดตั้งกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
จากเงินอุดหนุนของรัฐ
7.ครู คณาจารย์ บุคลากรทางการศึกษา