Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปอดอักเสบ (pneumonia) - Coggle Diagram
ปอดอักเสบ (pneumonia)
เกิดจาก 2 กลุ่มหลัก
- ปอดอักเสบที่เกิดจากการติดเชื้อ
- ปอดอักเสบที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ มักพบในคนที่ไม่แข็งแรง (มีภูมิต้านทานโรคต่ำ) เช่นเด็กคลอดก่อนกําหนด คนที่เป็นโรคทางปอดเรื้อรัง และการสำลักเศษอาหารเข้าไปในปอด
กรณีศึกษา GA 37 wk น้ำหนักแรกเกิด 1,930 กรัม Apgar =8,8,9
ผู้รับบริการมีประวัติเป็นโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด(TOF) เคยได้รับการผ่าตัดหัวใจ MBTS วันที่ 3 พ.ค 65 และยังไม่ได้รับวัคซีน JE1
สาเหตุ
-
- เชื้อไมโคพลาสมา (mycoplasma pneumoniae)
-
-
-
-
กรณีศึกษา ผู้รับบริการอยู่อาศัยในที่แออัด และพบเด็กที่อยู่อาศัยในที่เดียวกันมาโรงพยาบาลด้วยภาวะ Pneumonia
พยาธิสภาพ
หลังได้รับเชื้อหลังการติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน จะมีแบคทีเรีย เม็ดโลหิตแดง ไฟบรินและเม็ดโลหิตขาวออกมากินแบคทีเรีย ทำให้มีการแทรกซึมและมีการคั่งของเซลล์ในเนื้อเยื่อรอบๆหลอดลมฝอย เกิดการอักเสบและมีการสร้างเสมหะมากขึ้นผิดปกติ เกิดภาวะอุดกั้นทางเดินหายใจและมีพื้นที่แลกเปลี่ยนก๊าซในปอดลดลง การซึมซาบ (diffusion) และระบายอากาศไม่ดี (hypoventilation) ต่อมาเมื่อร่างกายสามารถต้านทานโรคได้จะมีเอนไซม์ออกมาละลายไฟบริน เม็ดโลหิตขาวและหนองจะถูกขับออกมาเป็นเสมหะ เนื้อปอดจะเข้าสู่สภาพปกติ จากการสลายสารต่างๆที่แทรกซึมในเนื้อปอด ซึ่งจะมีของเหลวขังในถุงลม ทำให้ได้ยินเสียง Crepitation
การติดต่อ
ติดต่อผ่านทางน้ำมูก น้ำลายและเสมหะ โดยการหายใจเอาเชื้อที่อยู่ในละอองฝอยกระจาย จากการไอหรือหายใจรดกัน หรืออาจเกิดจากการสำลักเชื้อลงสู่ปอด เช่น สำลักอาหาร
อาการและอาการแสดง
-
-
-
-
-
กรณีศึกษา 2-3 วันก่อนมาโรงพยาบาล ผู้รับบริการ ไอมีเสมหะ มีไข้สูง น้ำมูกข้น ล้างจมูกทุกเช้า(มีสีเหลืองขุ่น) หายใจเร็วขึ้นผู้ดูแลจึงพามาโรงพยาบาล
การวินิจฉัย
-
-
-
-
-
-
กรณีศึกษา
-
การตรวจนับเม็ดเลือดขาวในเลือด
WBC 12,880 cells/cu.mm.
MCV 71.2 fL
Neutrophil 38.4%
Lymphocyte 53.0%
Eosinophil 0.3%
-
การรักษา
-
- ในรายที่เป็นโรคปอดอักเสบจากเชื้อไวรัส ไม่มียารักษาที่จําเพาะ ควรให้การรักษาแบบประคับประคอง และบําบัดรักษาทางระบบหายใจที่เหมาะสม
-
-
-
-
-
-
-
-
-