Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่ 6 - Coggle Diagram
กรณีศึกษาที่ 6
การพยาบาลสตรีที่มีบุตรผิดปกติหรือเสียชีวิต
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
ทารกในครรภ์ไม่ดิ้นหลังจากที่มีการดิ้นของทารกมาก่อน หรือไม่เคยรู้สึกมีทารกดิ้นภายหลังอายุครรภ์ 16 สัปดาห์ในครรภ์หลัง หรือ 18 สัปดาห์ในครรภ์แรก หรืออาการคัดตึงเต้านมหายไป มีเลือดหรือน้ำออกทางช่องคลอด
การตรวจร่างกาย/ตรวจครรภ์
มีีระดับยอดมดลูกต่ำกว่าอายุครรภ์ ที่คำนวณได้จากวันแรก
ของประจำเดือนครั้งสุดท้ำย ฟังไม่พบเสียงการเต้นหัวใจทารก คลำการเคลื่อนไหวของทารกไม่ได
การตรวจภายใน
กรณีปากมดลูกเปิดแล้ว พบว่าอาจคลำพบกระดูกกะโหลกศีรษะยุบ
การถ่ายภาพรังสี
มีการเกยกันหรือเหลื่อมกันของกะโหลกศีรษะทารก (spalding’s sign) พบฟองอากาศในหลอดเลือดใหญ่ สายสะดือ ตับ ช่องท้อง (หลังจากทารกเสียชีวิต 2-3 วัน) มีการหักงอของกระดูกสันหลังทารก
การพยาบาล
การดูแลด้านร่างกาย ได้แก่ การดูแลความสะอาดของร่างกาย การได้รับอาหารที่เพียงพอ การขับถ่าย ความสุขสบายทางด้านร่างกาย กี่พักผ่อนอย่างเต็มที่ บรรเทาอาการคัดตึงเต้านม และยับยั้งการสร้างและหลั่ง น้ำนม
การดูแลด้านจิตใจและสังคม การให้ข้อมูลเกี่ยวกับความพิการหรือบุตรเสียชีวิต โดยใช้คำพูดที่เข้าใจง่ายไม่ควรทอดทิ้งให้มารดาหลังคลอดอยู่ตามลำพังในห้อง
การส่งเสริมสัมพันธภาพ ระหว่างบิดามารดาและทารกที่มีความผิดปกติ ส่งเสริมให้มารดาหลังคลอดได้สัมผัสทารกทันที่หลังคลอด ไปพาไปเยี่ยมทารก ให้มีส่วนร่วมในการดูแลทารก สอนวิธีการเลี้ยงดูทารก
สาเหตุ
สาเหตุจากทารก
ความพิการแต่กำเนิด จะมีความผิดปกติที่รุนแรงและเห็นได้ชัด เช่น neural tube defect, complex heart disease
ความผิดปกติทางโครโมโซม ส่วนใหญ่เป็น monosomy X, trisomy 21, 18 และ 13
คลอดก่อนกำหนด ภาวะทารกเจริญเติบโตช้า ในครรภ์ชนิดรุนแรง ทารกบวมน้ำ และการติดเชื้อในครรภ์
สาเหตุจากรก
สายสะดือผิดปกติ เช่น knot หรือ entanglement
ภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด การติดเชื้อในโพรงมดลูก อาจเป็น chorioamnionitis TORCH ภาวะหลอดเลือดอุดกั้นในสายสะดือ การเกาะของสายสะตือ ที่ผิดปกติ
สาเหตุจากมารดา
อายุมากกว่า 35 ปี
โรคทางอายุรกรรม เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไตชนิดรุนแรง thrombophilia
รกลอกตัวก่อนกำหนด(Placental abruption)
การพยาบาล
อธิบายให้สตรีมีครรภ์และครอบครัวทราบถึงพยาธิสภาพ ภาวะแทรกซ้อน แผนการรักษา การปฏิบัติตัวที่เหมาะสม
ในรายที่เลือดออกมากควรให้ absolute bed rest นอนท่าตะแคงซ้าย เพื่อลดการกดทับเส้นเลือด inferior vena cava และดูแลให้ได้รับออกซิเจน
เตรียมเลือดตามแผนการรักษาไว้ให้พร้อม
และดูแลให้สารน้ำและเลือดอย่างถูกต้อง
อาหารและน้ำทางปากตามแผนการรักษา
บันทึกปริมาณน้ำเข้า-ออก
สาเหตุ
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ภาวะที่แรงดันภายในโพรงมดลูกลดลงอย่างรวดเร็ว
สายสะดือสั้นกว่าปกติ ทำให้เกิดการดึงรั้งของสายสะดือ
การบาดเจ็บและการกระทบกระเทือนจากภายนอกอย่างรุนแรงที่บริเวณมดลูก
การวินิจฉัย
จากการซักประวัติ อาการและอาการแสดง
การตรวจอัลตราซาวน์ดูรก สามารถแยกออกจากภาวะรกเกาะต่ำได้
การตรวจภายใน คลำไม่พบรก ถุงน้ำคร่ำตึง ในบางรายเจาะถุงน้ำคร่ำอาจพบน้ำคร่ำมีเลือดปน
ความรุนแรงในสตรีมีครรภ์(abuse during pregnancy)
การวินิจฉัย
การซักประวัติ เนื่องจากการใช้ความรุนแรง เป็นสิ่งที่ไม่เห็น ไม่รับรู้ และซ่อนอยู่ในครอบครัว ซึ่งมีความอ่อนไหว ในการตั้งคำถามเพื่อประเมินสภำพ จึงควรแสดงถึงความเข้าใจ เห็นใจ ไม่คุกคาม และไม่มีอคติ
สาเหตุ
สามีที่ใช้ความรุนแรงกับภรรยาในขณะตั้งครรภ์เกิดจากปัญหาทางครอบครัวของสามี
สามีบางรายมีความอิจฉาทารกที่เกิดมา กลัวภรรยาจะสนใจทารกที่อยู่ในครรภ์มากกว่าตนเอง กลัวถูกแย่งความรัก
อายุ และสัมพันธภาพระหว่างคู่สมรส
การพยาบาล
ระยะหลังคลอด
ให้คำปรึกษารายบุคคล ให้แนวทางการป้องกันตนเองจากการเป็นผู้ถูกกระทำความรุนแรง ส่งเสริมการสร้างสัมพันธภาพระหว่างมารดา-ทารก และครอบครัว ติดตามการเยี่ยมบ้าน บอกแหล่งสนับสนุนการช่วยเหลือ วิธีการติดต่อ
ระยะตั้งครรภ์
ประเมินการเพิ่มของน้ำหนัก การบาดเจ็บตามส่วนต่างๆของร่ายกาย ให้คำแนะนำเรื่องการรับประทานอาหาร การพักผ่อน การสังเกตการณ์ดิ้นของทารก การสังเกตอาการผิดปกติต่างๆ การมาฝากครรภ์ตามนัด และส่งต่ออย่างเหมาะสม
การค้นหาสตรีตั้งครรภ์ที่ถูกกระทำความรุนแรงตั้งแต่ระยะเริ่มต้น
การซักประวัติ หรือรับฟังข้อมูลจากสตรีตั้งครรภ์เรื่องการถูกทำร้ายร่างกาย
การตรวจร่างกาย มักพบร่องรอยการถูกทำร้ายร่างกาย
ระยะคลอด
ดูแลเรื่องการบรรเทาความเจ็บปวดอย่างเหมาะสม