Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาหลังคลอดโดยเน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลาง, นางสาวมนัญชยา…
การพยาบาลมารดาหลังคลอดโดยเน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
ความหมายของระยะหลังคลอด
ระยะเวลาตั้งแต่คลอดรกจนถึง 6 สัปดาห์หลังคลอด ซึ่งเป็นระยะเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลงของอวัยวะต่างๆ กลับเข้าสู่ภาวะปกติ
การแบ่งระยะหลังคลอด
ระยะแรก คือระยะหลังคลอด 24 ชั่วโมง
ระยะหลัง คือ ระยะหลังจากระยะแรกจนถึง 6 สัปดาห์
การเปลี่ยนแปลงของระบบอวัยวะสืบพันธุ์
มดลูก ในระยะหลังคลอดมดลูกจะมีการเข้าอู่ โดยการที่มดลูกมีการหดรัดตัวกลับเข้าสู่ภาวะปกติในอุ้งเชิงราน
มดลูกขาดเลือดไปเลี้ยง จะมีการหดรัดตัวและคลายตัวของใยกล้ามเนื้อมดลูก
การย่อยตัวเอง หลังคลอดเกิดฮอร์โมนเอสโตรดจนและโพรเจสเตอโรนลดลง ทำให้มีการหลั่งเอนไซม์ย่อยโปรตีนออกมา
นำ้คาวปลา - ชั้นที่อยู่ติดกับกล้ามเนื้อมดลูกจะแบ่งตัวออกเป็น 2 ชั้น ได้แก่
ชั้นที่อยู่ติดกับกล้ามเนื้อมดลูกเรียกว่า ดิซิดัว เบซัลลิส เพราะมีต่อมเยื่อบุมดลูก
ชั้นที่อยู่ติดกับโพรงมดลูก ดิซิดัว สปอนจิโซอา เม็ดเลือดขาวและแบคทีเรีย 3 ชนิด ได้แก่ ในช่วง 3 วันแรกหลังคลอด นำ้คาวปลามีลักษณะเป็นสีแดงเข้ม เรียกว่า โลเคีย รูบรา
วันที่ 4-9 หลังคลอด สีแดงเข้มกลายเป็นสีแดงจางๆ หรือสีชมพู
วันที่ 10-14 หลังคลอด คาวปลาจะเริ่มเปลี่ยนเป็นสีขาว เรียกว่า โลเคีย แอลบา
ปากมดลูก ระยะหลัระยะหลังคอดบริเวณจากปากช่องคลอดจนกระทั่งถึงมดลูกส่วนล่างยังคงบวมเป็นเวลาหลายวันส่วนของปากมดลูกจะอ่อนนุ่มมีรอยช้ำและมีรอยฉีกขาดเล็กๆแต่มากมดลูกจะไม่คืนสู่สภาพเดิมเหมือนก่อนตั้งครรภ์
ช่องคลอด ระยะหลังในระยะหลังคลอดขอบญาติพรหมจารีจะขาดกะรุ่งกะริ่งเรียกว่าเป็นลักษณะเฉพาะบอกได้อย่างหนึ่งว่าสตรีนั้นเคยคลอดบุตรแล้ว
ฝีเย็บ ในระยะที่ในระยะที่สองของการคลอดกล้ามเนื้อบริเวณผนังเชิงกรานจะบางและยืดด้วยแรงกดจากศรีษะบุตรและกดนี้จะมีมากในมารดาคันแรกและในมารดาที่คลอดบุตรตัวใหญ่ซึ่งมักจะช่วยได้โดยการตัดฟรีเย็บและซ่อมแซมฝีเย็บดังนั้นมารดาหลังคลอดจะมีอาการปวดศีรษะบริเวณฝีเย็บและแผลจะหายเป็นปกติภายใน 5-7วัน
การเปลี่ยนแปลงของระบบต่างๆของร่างกาย
ระบบฮอร์โมน
ฮอร์โมนจากรก หลังคลอดระดับของฮอร์โมน จากรกในพลาสมาจะลดลงอย่างรวดเร็ว
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง ระดับของฮอร์โมนโพรแลคติน ในกระแสเลือดจะสูงขึ้นเรื่อยๆในขณะตั้งครรภ์
ระบบทางเดินปัสสาวะ ในระยะที่ 2 ของการคลอด ขณะบุตรผ่านช่องทางคลอดออกมาจะทำให้เกิดการบาดเจ็บของท่อปัสสาวะและกระเพาะปัสสาวะ
ระบบการไหลเวียนโลหิต ปริมาณเลือด การขับปัสสาวะและเหงื่อออกมาภายหลัง
ระบบทางเดินอาหาร หลังคลอดระบบทางเดินอาหารจะกลับสู่สภาพเกือบจะปกติน้อยลง
ระบบผิวหนัง ผิวหนังมารดาหลังคลอดมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากฮอร์โมนลดลง จะมีสีเข้มขึ้นขณะตั้งครรภ์
ความอ่อนเพลีย
ระยะหลังคลอดมารดามักอ่อนเพลีย ต่อเนื่องมาจากในระยะทัายของการตั้งครรภ์ที่มีนำ้หนักเพิ่มขึ้นและสูญเสียพลังงาน
นำ้หนักลด ขณะตั้งครรภ์จะมีนำ้หนักเพิ่มขึ้น 10-12 กิโลกรัมเมื่อทารกและรกคลอดออกมา นำ้หนักของมารดา จะลดลงประมาณ 5-6 กิโลกรัม
อุณหภูมิ
มีการเปลี่ยนแปลงตามสาเหตุ Recctionary Fever ซึ่งเกิดจากการขาดนำ้ เสียพลังงานในการคลอดประมาณ 37.8 องศา แต่ไม่เกิน 38 องศา แล้วจะลดลงสู่ปกติใน 24 ชั่วโมงหลังคลอด
ระยะนี้มี มีสาเหตุมาจากเนื้อเยื่อถูกทำลายและการสูญเสีย และการสูญเสียน้ำและเลือดมากหากมารดาหลังคลอดดื่มน้ำอย่างพอเพียงจะทำให้ไข้ลดและมีอุณหภูมิเป็นอุณหภูมิปกติ
ชีพจร
อัตราการเต้นของชีพจรในระยะคอดจะลดลงกว่าเดิมเล็กน้อยคือจะอยู่ในช่วง 60 ถึง 70 ครั้งต่อนาที
ความดันโลหิต
มีมีการเปลี่ยนแปลงของความดันโลหิตเพียงเล็กน้อยแต่ถ้าความดันโลหิตลดลงโดยไม่สัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงถ้าอาจเกิดจากการเสียเลือด
ผลของการเปลี่ยนแปลงในทางลดลง
ความอ่อนเพลีย
นำ้หนักลด
สัญญาณชีพ
อุณหภูมิ ในระยะ 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด มารดาอาจมีอุณหภูมิวูงขึ้นได้แต่จะต้องไม่เกิน 38 องศาเซลเซียส
ชีพจร อัตราการเต้นของชีพจรในระยะหลังคลอดจะลดลงกว่าเดิมเล็กน้อย คือจะอยู่ในช่วง 60-70 ครั้ง/นาที
ความดันโลหิต มีการเปลี่ยนแปลงของความดันโลหิตเพียงเล็กน้อย เมื่อเปลี่ยนจากท่านอนหงาย
การเปลี่ยนแปลงในทางก้าวหน้า
เต้านม ในขณะตั้งครรภ์เต้านมจะถูกกระตุ้นด้วยฮอร์โมนต่างๆ
การตกไข่และการมีประจำเดือน
การปรับตัวด้านจิตสังคมและบทบาทการเป้นมารดาหลังคลอด
ระยะที่มีพฤติกรรมพึ่งพา ระยะนี้อาจใช้เวลา 1-2 วัน มารดาหลังคลอดจะมุ่งที่ตนเองและต้องการพึ่งพาผู้อื่นทสนใจแต่ความต้องการตนเอง
ระยะพฤติกรรมระหว่างพึ่งพาและไม่พึ่งพา ระยะนี้ใช้เวลาประมาณ 10 วัน มารดามีประสบการณ์มากขึ้น มีการปรับตัวกับชีวิตใหม่ ได้พักผ่อนเพียงพอ
ระยะพฤติกรรมพึ่งพาตนเอง ส่วนมากมักเป็นระยะที่มารดากลับบ้าแล้ว ต้องตระหนักและยอมรับความจริงว่าได้แยกจากบุตรทางด้านร่างกายแล้ว
ภาวะอารมณ์เศร้า ในระยะ 10 วันแรกหลังคลอดจะพบมารดาที่มีความรู้สึกเศร้ามาก ต้องแยกจากครอบครัว อยู่ในที่ไม่คุ้นเคย มีการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน ความเหน็ดเหนื่อย ความสูญเสียทางด้านร่างกาย ความรู้สึกไม่มั่นใจ ความรู้สึกสูญเสียความงาม
การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์และจิตใจ
มารดาจะรู้สึกดีมารดาจะรู้สึกดีใจและมีความสุขแต่อาจมีปัจจัยหลายอย่างที่ทำให้อารมณ์และจิตใจแปรปรวนได้ง่ายเช่นความตื่นเต้นความกังวลใจในการเลี้ยงดูลูกความกลัวการเปลี่ยนแปลงต่างๆปัจจัยเหล่านี้อาจทำให้เกิดภาวะซึมเศร้าภายหลังคลอดได้
ทางร่างกายทางร่างกายการเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนทางเพศการลดลงของน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นของสารเอนโดฟินและลดต่ำลงอย่างรวดเร็วหลังคอด 1 ชั่วโมง
ทางจิตใจทางจิตใจความรับผิดชอบที่เพิ่มขึ้นการเปลี่ยนแปลงของรูปร่างการเปลี่ยนแปลงบทบาททางสังคมทั้งที่บ้านและที่ทำงานความเครียดในการดำรงสถานะของครอบครัว
การบำบัดรักษา Postparum blue น่าจะเป็นสภาวะปกติมากกว่าความผิดปกติการบำบัดรักษาจึงไม่จำเป็นความสามารถถ่ายเองได้แต่อย่างไรก็ตามการให้การดูแลทางด้านจิตใจจะช่วยทำให้อาการดีขึ้นเร็ว การบำบัดรักษา postpartum depression เนื่เนื่องจากโรคนี้อาจรุนแรงถึงขนาดมีการทำร้ายตนเองหรือทำร้ายลูกเมื่อพบว่าผู้ป่วยหลังคอดมีอาการดังกล่าวแม้จะรู้สึกว่ายังไม่รุนแรงก็ไม่ควรปล่อยทิ้งไว้ควรปรึกษาจิตแพทย์เพื่อให้การวินิจฉัยและบำบัดรักษาการบำบัดรักษาจะทำร่วมกันทั้งการให้ยาแล้วกันให้จิตบำบัด การบำบัดรักษา postpartum psychosis เนื่เนื่องจากความรุนแรงของการในการบำบัดรักษาจึงมีความจำเป็นต้องรับตัวไว้รักษาในโรงพยาบาลและงดเลี้ยงบุตรหรือเลี้ยงโดยมีการดูแลใกล้ชิดในช่วงเวลาสั้นสั้นแต่ต้องงดการให้นมแม่เนื่องจากยาตามอาการทางจิตไม่มีข้อมูลเพียงพอที่จะปลดว่าปลอดภัยต่อเด็กที่ได้รับนมแม่การรักษาจะเน้นให้การให้ยา
การปรับตัวต่อบทบาทการเป็นมารดา
สัมพันธภาพระหว่างสามี ทั้งด้านปฏิสัมพันธ์ พฤติกรรมการให้ความรัก
การรับรู้ถึงการมีส่วนร่วมในการดูแลบุตร
ความพึงพอใจของมารดาที่มีต่อประสบการณ์
ความพึงพอใจของมารดาต่อสภาพชีวิต
ความมั่นใจของมารดาในการปฏิบัติพัฒนกิจตามบทบาทการเป็นมารดา
ความพึงพอใจในการเลี้ยงดูบุตร
บทบาทเป็นการมารดา แบ่งเป็น 4 ด้าน
การปรับตัวเข้าสู่บทบาทใหม่
การสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างมารดา- บิดาและบุตร
การจัดแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของสมาชิกในครอบครัวให้เหมาะสม
การวางแผนครอบครัว เป็นสิ่งจำเป็น
การปรับตัวเพื่อเป็นมารดาจะประสบความสำเร็จหรือล้มเหลวขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆดังต่อไปนี้ บุคลิกภาพและการเลี้ยงดูที่ได้รับในวัยเด็กอายุประสบการณ์ในการเลี้ยงดูเด็กการศึกษารายได้สัมพันธภาพในชีวิตสมรส
บทบาทการเป็นบิดา
ทำความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทของบิดา
หาแนวทางหรือวิธีการแก้ไขความกดดันในขณะเริ่มเป็นบิดา
การเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งจำเป็นในการดูแลบุตร
-กำหนดหลักการเพื่อที่จะทำให้สมาชิกในครอบครัวมีสุขภาพอนามัยที่ดี
ส่งเสริมให้บุตรมีพัฒนาการด้านต่างๆอย่างเต็มความสามารถ
มีความรับผิดชอบเกี่ยวกับการหารายได้เลี้ยงครอบครัว
ดำรงไว้ซึ่งระบบสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ
เป็นตัวแทนชองครอบครัวในการเข้าไปมีส่วนร่วมกับชุมชน
ความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมของบิดาในระยะหลัง คลอดยังมีน้อย แต่ก็พบว่าผู้ เป็ นบิดาจะมีประสบการณ์ ของการเช่นการเพ้อฝันเดียวกัน อย่างไรก็ตามบิดาหลายคน ลังเลที่ จะอุ้มหรือดูแลบุตรเกิดใหม่ จนกว่าจะได้รับการ กระตุ้นจากบุคคลอื่น หลังจากบุตรเกิดแล้วผู้เป็นบิดา ส่วนมากมักมีความตื่นเต้น อาจแสดงออกหลาย ๆ ทาง เชน่ บางคนที่มาจากครอบครัว ที่มีสัมพันธภาพดี กระบวนการคลอด มักอ่อนเพลียและต้องการพักผอ่ น การปรบั ตัวของบิดากับบุคลิกส่วนตัว ความพร้อมในการเป็นบิดา สัมพันธภาพระหว่างสามี-ภรรยาท ผ่านมา มีส่วนสําคัญใน การตอบสนองต่อภรรยาและบุตร บิดาบางคนอาจมีภาวะ ซึมเศร้า ในระดับ อ่อนถึงปานกลางได้เช่นกัน อาจมีสาเหตุส่งเสริมมาจากหลังคลอดจุดความสนใจจะอย่ที่บุตรและมารดาคนอื่นๆ จึงลืมบิดา ทําให้บิดาเกิดความ คับข้องใจ เครียด น้อยใจ การนอนหลับไม่เพียงพอ กังวลเก ียวกับด้านเศรษฐกิจ มีความรู้สึกไม่มั่นคงใน ความสามารถของการเป ็นบิดา และมีความลําบากในการ
เอกสารอ้างอิง
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา สาขาวิชาการพยาบาลมารดาและผดุงครรภ์ (2565). เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา 10230159. (หน้า190-207). ชลบุรี
การเปลี่ยนแปลงเต้านมและการหลั่งนำ้นม
ในระยะหลังในระยะหลังคอดฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนและเอสโตรเจนจะลดระดับลงทำให้ โปรแลคตินสามารถออกฤทธิ์ในการสร้างน้ำนม
การดูดนมจะทำให้ระดับโปรแลคตินเพิ่มขึ้นเพื่อสร้างน้ำนมใหม่ขึ้นมาเพื่อเก็บไว้นอกจากนี้ยังกระตุ้นการหลั่งอ๊อกซี่โตซินให้มีการหลังน้ำนม
การตกไข่และการตกไข่และการมีประจำเดือน - มารดาหลังคลอดที่ไม่ได้เลี้ยงบุตรด้วยนมตนเองจะมีการตกไข่ในช่วง 10 ถึง 11 สัปดาห์หลังคลอดแล้วจะกลับมีประจำเดือนครั้งแรกในช่วงเวลา7 ถึง 9สัปดาห์หลังคลอด
ส่ส่วนมารดาหลังคอดที่เลี้ยงบุตรด้วยนมตนเองจะกลับมีประจำเดือนในช่วง 30 ถึง 36 สัปดาห์หลังคลอดแต่การตกไข่จะแตกต่างกันไปตามระยะเวลาที่ให้บุตรดูดนม
นางสาวมนัญชยา วิเชียรทวี เซค 03 รหัสนิสิต 63010086