Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่ 5 - Coggle Diagram
กรณีศึกษาที่ 5
ภาวะรกเกาะต่ำ (Placenta previa)
การพยาบาล
ประเมินอาการผิดปกติอย่างใกล้ชิดเช่น อาการและอาการแสดงของภาวะช็อค การประเมินสัญญาณชีพเป็นระยะการบันทึกปริมาณสารน้ำ และการหดรัดตัวของมดลูก
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวทราบและเข้าใจถึงภาวะผิดปกติที่เกิดขึ้น แนวทางการรักษาพยาบาลที่จะได้รับและความจำเป็น
จัดให้นอนพักผ่อนบนเตียงเพื่อลดการกระตุ้น
การหดรัดตัวของมดลูก
ให้งดน้ำและอาหารทางปาก ดูแลให้ได้สารน้ำและอาหารทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
ปัจจัยเสี่ยงที่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่างๆ เช่น ประวัติผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง ประวัติแท้งหรือขูดมดลูก เคยคลอดบุตรตั้งแต่ 5 ครั้งขึ้นไป เคยมีรกเกาะต่ำ อายุมากกว่า 35 ปี มีการอักเสบของหลอดเลือด และการสูบบุรี่
การตรวจร่างกาย
ตรวจพบเลือดออกทางช่องคลอดลักษณะเลือดสีแดงสด หรือมีภาวะซีดที่สัมพันธ์กับปริมาณเลือดที่ออกห้ามตรวจทางช่องคลอดด้วยนิ้วมือเนื่องจากจะทำให้เกิดการตกเลือดได้
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจ complete blood count พบค่า hemoglobin ลดลง
การตรวจครรภ์
พบมดลูกนิ่ม ไม่หดรัดตัว กดไม่เจ็บ คลำส่วนของทารกได้ง่าย ฟังเสียงหัวใจทารกได้ อาจพบส่วนนำของทารกยังไม่เข้าสู่ช่องเชิงกราน
สาเหตุ
การตั้งครรภ์อายุมาก (advanced maternal age) อายุ พบว่าสตรีมีครรภ์ที่อายุเกิน 35 ปี พบภาวะรกเกาะต่ำเพิ่มขึ้นร้อยละ 1 และสตรีมีครรภ์ที่อายุ 40 ปี พบภาวะรกเกาะต่ำเพิ่มขึ้นร้อยละ
จำนวนครั้งของการคลอดพบว่าโอกาสเกิดรกเกาะต่ำเพิ่มขึ้นตามจำนวนครั้งของการคลอด
การตั้งครรภ์ทารกหลายคน (multiple gestation) รกมีขนาดใหญ่
ประวัติผ่านการคลอดบุตรหลายครั้ง (multiparity)
ตั้งครรภ์อายุมาก (Teenage Pregnancy)
การวินิจฉัย
การตรวจภายใน
ในระยะไตรมาสแรก คลำพบขนาดของมดลูกโตกว่าระยะของการขาดประจำเดือน
ระยะคลอด อาจบอกได้บางรายแต่ค่อนข้างน้อย เช่น ตรวจภายในพบว่าศีรษะ เด็กเปื่อยยุ่ย (Macerate head) หรือพบมีสายสะดือย้อยที่ไม่มีชีพจรแล้ว สามารถฟังเสียงหัวใจทารกได้อีก ซึ่งชวนให้สงสัยว่ามีทารก 2 คน
การตรวจพิเศษ
การตรวจด้วยเครื่องคลื่นเสียงความถี่สูง (Ultrasonography) สามารถตรวจ พบได้หลังอายุครรภ์ 6-7 สัปดาห์
การถ่ายภาพรังสี ในช่วงครึ่งหลังของการตั้งครรภ์
สาเหตุ
การมีบุตรยาก
ไม่มีการป้องกัน
การพยาบาล
ส่งพบเพทย์เพื่อตราจหาอายุครรณ์ที่ถูกต้อง และคัดกรองความผิดปกติของทารกในครรภ์ด้ายคลื่นเสียงความที่สูง เพื่อเป็นการส่งเสริมให้วัยรุ่นตั้งครรภ์ต่อและมีความผูกพันกับทารกในครรภ์
ประเมินอายุกรรภ์
ส่งตราจหาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เอชไอวี และให้การรักษาที่เหมาะสมเพื่อลคการคิดเชื้อจากแม่สู่ลูก
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับกาวะโภชนาการที่เหมาะสม
การดูแลสภาพจิตใจ ให้กำลังใจและคำปรึกยากับการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายและจิดใจระหว่างการตั้งครรภ์
การตั้งครรภ์แฝด (Multifetal Pregnancy)
สาเหตุ
กรรมพันธุ์ (Heredity)
อายุสตรีที่มีอายุมากมีโอกาสเกิดการตั้งครรภ์แฝดมากกว่าสตรีที่มีอายุน้อย
เชื้อชาติพบมากในสตรีชาวผิวดำเช่นชาวไนจีเรียและพบน้อยในสตรีชาวเอเชีย
จำนวนของการตั้งครรภ์พบมากขึ้นในการตั้งครรภ์หลัง
การพยาบาล
ระยะหลังคลอด
เฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด
ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูด
ประเมินภาวะติดเชื้อ
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำให้มาฝากครรภ์ตั้งแต่เริ่มแรกของการตั้งครรภ์ และมาตรวจตามนัดทุกครั้งเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน การนัดตรวจภายหลังอายุครรภ์ 24 สัปดาห์นัดตรวจทุก 2 สัปดาห์
การให้สตรีตั้งครรภ์แฝดรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้คุณค่าทางโภชนาการครบถ้วน
พักผ่อนให้เพียงพอ
ทำจิตใจให้สบาย ผ่อนคลาย ไม่เครียด
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
มีประวัติครรภ์แฝดในครอบครัว การตั้งครรภ์อายุมากกว่า 35 ปีขึ้นไป การตั้งครรภ์หลายครั้ง สตรีที่มีรูปร่างใหญ่ น้ำหนักมาก หรือมีประวัติเคยตั้งครรก์แฝดในครอบครัวโดยเฉพาะญาติฝ่ายมารดา การให้ประวัติว่าการตั้งครรภ์ครั้งนี้พบมดลูกมีขนาดโตเร็วกว่าปกติหรือพบทารกดิ้นมากผิดธรรมดา
การตรวจร่างกายและหน้าท้อง
การตรวจร่างกายทั่วไปพบอาการหายใจลำบากนอนราบไม่ได้การเคลื่อนไหวไม่สะดวก อาจพบภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์น้ำหนักเพิ่มขึ้นมากกว่าปกติ
การตรวจครรภ์พบขนาดของมดลูกโตกว่าอายุครรภ์ตั้งแต่ไตรมาสที่สองคลำพบ baliotement ของศีรษะทารกได้มากกว่า 1 ตำแหน่งตรวจพบส่วนต่างๆของทารก (small part) มากกว่าปกติฟังเสียงหัวใจทารกได้ 2 ตำแหน่งโดยมีอัตราการเต้นของหัวใจต่างกันชัดเจนสำหรับในระยะคลอดสามารถคลำทารกได้ที่มดลูกอีกหลังจากที่ทารกคนหนึ่งคลอดออกมาแล้ว
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเลือดพบค่า hemoglobin, hematocrit และจำนวนเม็ดเลือดแดงลดลงนอกจากนี้มีการตรวจพบฮอร์โมน human chorionic gonadotropin (PCG) หรือ alphafetoprotein (AFP) สูงขึ้นผิดปกติและการตรวจคัดกรองภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด (preterm birth)
สาเหตุ
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์
ความผิดปกติของรก มีภาวะรกเกาะต่ำ หรือรกลอกตัวก่อนกำหนด ภาวะครรภ์แฝดน้ำหรือถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด และปัจจัยอีกด้านหนึ่ง คือด้านทารกในครรภ์เช่น ทารกในครรภ์มีความผิดปกติภาวะครรภ์แฝดสอง หรือมากกว่า เป็นต้น
ปัจจัยด้านสตรีตั้งครรภ์
สตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อนทางด้านอายุรศาสตร์ สูติศาสตร์มีการติดเชื้อนอกมดลูก ความผิดปกติของมดลูก เคยมีประวัติคลอดก่อนกำหนดมาก่อนหรือสตรีตั้งครรภ์มีการใช้สารเสพติด
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับยา Dexamethasone 6 mg q 12 hrs. 2 day ตามแผนการรักษา และสังเกตอาการที่ผิดปกติ
ดูแลให้หญิงตั้งครรภ์ที่ตรวจพบว่าไม่มีการหดรัดตัวของมดลูกหรือมีการหดรัดตัวของมดลูกไม่สมํ่าเสมอมากกว่า 10 นาทีต่อครั้ง ได้รับยาป้องกันการหดรัดตัวของมดลูกชนิดรับประทาน ตามแผน การรักษา เพื่อป้องกันการหดรัด ตัวของมดลูก
ดูแลให้หญิงตั้งครรภ์ที่ตรวจพบว่ามีการหดรัดตัวของมดลูกอย่างสมํ่าเสมออย่างน้อย 1 ครั้ง ในทุก 10 นาทีได้รับยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูกตามแนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลรักษา หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
การวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การวัดความยาวของปากมดลูกด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง อายุครรภ์ 22-34 สัปดาห์ปากมดลูกมีความยาวเฉลี่ย 35 มิลลิเมตร ร่วมการตรวจลักษณะความบางของปากมดลูกซึ่งจะพบมีการโปงของถุงน้ำเข้าไปใน endocervical canal เรียกว่า funneling โดยลักษณะความหนาบางของปากมดลูกจะเปลี่ยนลักษณะรูปร่างเป็น T, Y, V และ U ตามลำดับ ซึ่งสามารถตรวจพบได้ตั้งแต่อายุครรภ์ 16-24 สัปดาห์ ดังนั้นถ้าความยาวลดลงเหลือน้อยกว่า 25 มิลลิเมตรร่วมกับลักษณะความหนาบางของปากมดลูกเปลี่ยนไป จะใช้เป็นตัวทำนายภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดได้
การซักประวัติ
พบลักษณะเหมือนการเจ็บครรภ์จริง ซึ่งต้องแยกจากการเจ็บและ Braxton Hick contraction
การตรวจร่างกาย
พบมดลูกหดรัดตัวสม่ำเสมออย่างน้อย 4 ครั้งใน 20 นาที หรือ 8 ครั้งใน 60 นาที ร่วมกับปากมดลูกเปิดตั้งแต่ 1 เซนติเมตร หรือปากมดลูกบางตัวตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไป