Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาและทารกที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะตั้งครรภ์…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาและทารกที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอดกรณีศึกษาที่ 5
-
-
สตรีที่มีการตั้งครรภ์แฝด
(twin pregnancy , multifetal pregnancy , หรือ multiple gestation)
แนวทางการรักษา
-
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ควรจะได้รับพลังงานเพิ่มขึ้นประมาณ 300 kcal ดูแลให้ได้รับยาเสริมธาตุเหล็ก
-
-
-
-
-
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์ เช่น ให้คำแนะนำและดูแลเกี่ยวกับ การรับประทานอาหาร การได้รับยาเสริมธาตุเหล็กและกรดโฟลิค การพักผ่อน การนับลูกดิ้น
ระยะคลอด เช่น ประเมินสัญญาณชีพ ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ฟังเสียงหัวใจของทารกในครรภ์ การแตกของถุงน้ำคร่ำ
-
ระยะหลังคลอด เช่น ประเมินสัญญาณชีพ ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกและปริมาณ
เลือดที่ออกทางช่องคลอด ดูแลด้านจิตใจ
-
ผลกระทบ
ผลต่อมารดา
-
-
3.ระยะหลังคลอด เช่น การตกเลือดหลังคลอด การติดเชื้อหลังคลอด
4.ผลทางด้านจิตใจ เช่น ความเครียด วิตกกังวล ภาวะซึมเศร้า
ผลต่อทารก
-
-
-
4.ภาวะ twin-twin transfusion syndrome (TTTS) เกิดจากการเชื่อมและถ่ายเทเลือดที่ไม่สมดุลระหว่างทารกทั้งสอง
5.ภาวะทารกเสียชีวิต 1 คน (single intrauterine demise) เกิดจากมีการถ่ายเทเลือดจากทารกที่มีชีวิตไปยัง
ทารกที่เสียชีวิตอย่างเฉียบพลัน
-
-
ภาวะโลหิตจาง (Anemia)
ผลกระทบ
-
-
-
1.มีอาการทางหัวใจ คือ มีปริมาณเลือดที่บีบออกจากหัวใจใน 1 นาทีเพิ่มขึ้น ฟังได้ยืนเสียง Murmur บริเวณขั้วหัวใจ และยอดหัวใจ อาจคลำได้การเต้นผิดปกติของหัวใจ
-
-
-
การพยาบาล
-
1.ประเมินสาเหตุ จากการซักประวัติครอบครัว โรคประจำตัว โรคทางพันธุกรรม ประวัติการเสียเลือด การรับประทานอาหาร
-
3.แนะนำวิธีการรับประทานยาบำรุงที่มีธาตุเหล็ก กรดโฟลิคอย่างต่อเนื่อง พักผ่อนให้เพียงพอออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอการดูแลความสะอาดร่างกาย
-
-
6.สังเกตอาการผิดปกติที่ต้องรีบมาพบแพทย์ เช่น อ่อนเพลียมากขึ้น เหนื่อยง่าย ใจสั่น ปวดศีรษะ มึนงง เบื่ออาหาร
-
-
-
-
-
4.ขณะทำคลอด พยายามให้เนื้อเยื่อฉีกขาดน้อยที่สุด หลังจากทารกและรกคลอดแล้ว ประเมินจำนวนเลือดที่ออกมาจากโพรงมดลูกและแผลฝีเย็บ เย็บซ่อมแซมแผล ประเมินสัญญารชีพช่วงแรกหลังคลอด
-
-
-
-
4.บรรเทาความเจ็บปวดในระยะรคลอด แนะนำวิธีการผ่อนคลายด้วยการหายใจแบบช้าลึก ประมาณ 6-7 ครั้ง/นาที
5.ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด ด้วยการประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ประเมินสภาพทารกในครรภ์ ด้วยการฟังเสียงหัวใจทารกทุก 30 นาที หรือทุก 1 ชั่วโมง
-
-
-
3.ประเมินสัญญาณชีพ ดูแลให้มีการขับถ่ายปัสสาวะภายใน 4-6 ชั่วโมงหลังคลอด พักผ่อนให้เพียงพอ รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
4.แนะนำการคุมกำเนิด โดยเว้นระยะการมีบุตร 2 ปี ไม่ควรใส่ห่วงยางอนามัย เพราะมีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย แนะนำการมาตรวจหลังคลอดอีก 4-6 สัปดาห์
การดูแลรักษา
4.ในระหว่างการรับประทานที่มีธาตุเหล็ก อาจทำให้สตรีตั้งครรภ์บางคนมีอาการท้องผูก แนะนำอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง มี 2 กลุ่ม อยู่ในรูปของฮีม พบได้ในอาหารประเภทเนื้อสัตว์ เช่น เนื้อหมู เนื้อวัว ปลา เป็ด ไก่ อยู่ในรูปไม่ใช่ฮีม จะพบในพืชต่างๆ โดยเฉพาะผักใบเขียว เช่น ผักกูด ผักแว่น ดอกโสน โหระพา
-
-
สาเหตุ
-
2.การเสียเลือดแบบเฉียบพลัน (Acute blood loss) เกิดจากการได้รับบาดเจ็บ มีการฉีกขาดของหลอดเลือด มักเกิดในระยะก่อนคลอด หรือหลัง
คลอดทันที
-
-
-