Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่ 2 - Coggle Diagram
กรณีศึกษาที่ 2
ภาวะความดันโลหิตสูง
ภาวะที่มีความดัน Systolic) 140 มิลลิเมตรปรอทขึ้นไปหรือสูงกว่าเดิม 30 มิลลิเมตรปรอท และความดันไดแอสโตลิค (Diastolic) 90 มิลลิเมตรปรอทขึ้นไปหรือสูงกว่าเดิม 15 มิลลิเมตรปรอท จากการวัดความดันโลหิตอย่างน้อย 2 ครั้งห่างกันไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมง ภายหลังผู้ถูกวัดอยู่ในสภาวะพักผ่อนบนเตียง (Absolute bed rest) แล้ว
-
Chronic hypertension หมายถึงภาวะความดันโลหิตสูง ซึ่งเกิดขึ้นก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ และคงอยู่นานเกินกว่า 12 สัปดาห์หลังคลอด
Chronic hypertension with superimposed preeclampsai หมายถึง ภาวะความดันโลหิตสูงในกลุ่ม chronic hypertension ร่วมกับ preeclampsai โดยมาอาการบวม หรือ/และการตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะร่วมด้วย
การพยาบาล
ประเมินอาการแสดงนำก่อนเกิดอาการซัก ได้แก่ ปวดศีรษะมาก ตาพร่ามองเห็นภาพร้อนหรือเบลอ จุกเสียดยอดอกหรือใต้ชายโครงขวา จุกแน่นใต้ลิ้นปี ถ้าตรวจพบอาการอย่างใดอย่างหนึ่งต้องรีบรายงานแพทย์
-
ดูแลให้ได้รับยาป้องกันการซักตามแผนการรักษา โดยได้รับยา 10% Mgso4 4 gm vein drip และ MgSo4 10 gm. in 5% D/W 1,000 ml vein drip 100 ml/hr และสังเกตอาการข้างเคียงจากการใช้ยา
ประเมินอาการสตรีตั้งครรภ์ทุก 15-30 นาที ไม่ปล่อยให้สตรีตั้งครรภ์อยู่ตามลำพัง เพราะอาการชักอาจเกิดขึ้นได้ และเป็นอันตรายต่อชีวิตสตรีตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
-
ตรวจและบันทึกปริมาณสารน้ำเข้าและออกจากร่างกาย ซึ่งมีสายสวนปัสสาวะค้างไว้ เพื่อประเมินการทำงานของไต ถ้าพบปัสสาวะออกน้อยกว่า 30 มิลลิลิตร/ชั่วโมง ให้รายงานแพทย์
-
เตรียมอุปกรณ์ช่วยคืนชีพให้พร้อม เพื่อช่วยเหลือได้ทันทีเมื่อมีอาการซัก ได้แก่ ออกซิเจน ไม้กดลิ้น เครื่องดูดเสมหะ เครื่องช่วยหายใจ ยาระงับชัก และเตรียมความพร้อมของทีมช่วยคืนชีพ
-
การวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-
CBC, UA, LFT, BUN, Cretinine, PT, PTT, Matching grouping
-
-
-
ภาวะครรภ์เป็นพิษ
เกิดจากความผิดปกติของการฝังตัวของรก ซึ่งโดยธรรมชาติรกจะฝังบริเวณเยื่อบุผนังมดลูก แต่ในกรณีที่แม่ครรภ์เป็นพิษรกจะฝังตัวได้ไม่แน่น ส่งผลให้รกบางส่วนเกิดการขาดออกซิเจน ขาดเลือด เมื่อเลือดไปเลี้ยงรกได้น้อยลงจะเกิดการหลั่งสารที่เป็นสารพิษเข้าสู่กระแสเลือดของแม่ทีละเล็กทีละน้อย เมื่อถึงจุดหนึ่งจะส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ทั่วร่างกาย
-
การวินิจฉัย
สามารถทำได้โดยการตรวจร่างกาย ตรวจเลือด ตรวจปัสสาวะ ตรวจอัลตราซาวนด์ดูการเจิญเติบโตของทารกในครรภ์แล้วนำมาประเมินวางแผนการรักษา และดูแลอย่างต่อเนื่อง
-
ภาวะครรภ์ไข่ปลาอุก
สาเหตุ
สาเหตุที่แท้จริงของการเกิดโรคนี้ยังไม่ทราบแน่ชัด แต่พบว่าครรภ์ไข่ปลากอุกมีความสัมพันธ์กับเศรษฐานะที่ยากจน ภาวะทุพพลภาพ รวมถึงปัจจัยภายในบางประการของผู้ป่วย เช่นกรณีที่ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น หรือตั้งครรภ์เมื่ออายุมากกว่า 40 ปี มีประวัติแท้งเองมากกว่าสองครั้ง มีปัญหามีบุตรยาก รวมถึงผู้ป่วยเคยตั้งครรภ์ไข่ปลาอุกมาก่อนจะมีโอกาสเกิดมากกว่าคนทั่วไปถึง 16 เท่า
การวินิจฉัย
ตรวจด้วยภาพสแกน ทำเอกซเรย์คอมพิวเตอร์หรือซีทีสแกน (Computerized Tomography scan: CT Scan)หรือทำเอกซเรย์คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือเอ็มอาร์ไอ (Magnetic Resonance Imaging: MRI) บริเวณหน้าอก ท้อง อุ้งเชิงกราน และสมอง
การตรวจหาระดับฮอร์โมน β- human chorionic gonadotropin (β - nCG ) ในการตั้งครรภ์ปกติระดับ β - ICG จะสูงมากในสัปดาห์ที่ 8 -12 และจะเริ่มลดลงเมื่ออายุครรภ์ได้ 100 วัน เมื่ออายุครรภ์มากขึ้นหากการตรวจพบระดับ β - CG ยังอยู่ในระดับสูงขึ้นเรื่อย ๆ อาจเป็นข้อบ่งชี้ของการตั้งครรภ์ไช่ปลาอุก เนื่องจากมีการเจริญเติบโตที่ผิดปกติของ trophoblast
การตรวจอุ้งเชิงกรานตัวยคลื่นเสียงความถี่สูง (Pelvic ultrasonography) การตรวจพบ "snowstrom appearance" คือ ลักษณะคล้ายปุยหิมะเวลาเกิดพายุหิมะ
-
ภาวะการตั้งครรภ์ที่ไม่สมบูรณ์ โดยตัวอ่อนของทารกและรกไม่เจริญขึ้นมาตามปกติ เนื้อเยื่อของตัวอ่อนกลายเป็นเนื้องอกชนิดไม่ร้ายแรงในมดลูกแทน โดยทั่วไป รกจะช่วยลำเลียงสารอาหารไปเลี้ยงทารกในครรภ์ รวมทั้งกำจัดของเสียออกไป หากเซลล์ที่สร้างรกทำงานผิดปกติหลังจากที่ไข่ปฏิสนธิกับอสุจิแล้ว จะทำให้เกิดถุงน้ำรังไข่หรือซีสต์ ซึ่งมีลักษณะคล้ายพวงองุ่นสีขาวหรือไข่ปลา
การพยาบาล
การพยาบาลหลังขูดมดลูก
-
-
-
ประเมินอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ เช่น มีไข้ ปวดท้องมาก เลือดที่ออกทางชองคลอดมีกลิ่นเหม็น เป็นต้น
-
-
การพยาบาลก่อนขูดมดลูก
ถอดของมีค่าต่างๆ การถอดฟันปลอมเพื่อป้องกันการหลุดของฟันปลอมเข้าไปอุดหลอดลมขณะผ่าตัด งดการใช้ครีมและเครื่องสําอางทุกชนิด
-
-
-
-
-
-
-
-