Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประมวลผลข้อมูล - Coggle Diagram
การประมวลผลข้อมูล
4)การเตรียมข้อมูล
ดำเนินการกับข้อมูลที่รวบรวมมา เพื่อให้เป็นข้อมูลที่มีคุณภาพ พร้อมประมวลผล
เนื่องจากอาจมีข้อมูลบางส่วน ที่ไม่สามารถนำไปประมวลผลได้ทันที
แนวทางการตรวจสอบความผิดปกติของข้อมูล
1.ความสมบูรณ์
สอดคล้องกับชนิดข้อมูล
สอดคล้องกับความจริง
บางอย่างจะมีค่าไม่ซ้ำกัน
จะมีค่าไม่เป็นค่าว่าง
ไม่มีค่าผิดไปจากข้อมูลอื่น
2.รูปแบบเดียวกัน
ต้องจัดเก็บในรูปแบบเดียวกัน
3.ความครบถ้วน
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องต้องถูกรวบรวมอย่างครบถ้วน
4.ความทันสมัย
มีค่าสอดคล้องกับเวลา/สถานการณ์
แนวทางการแก้ไขข้อมูลที่ผิดพลาด
1.ปรับให้ตรงกับรูปแบบ
2.แก้ไขโดยอ้างอิงจากข้อมูล
3.ลบข้อมูลนั้นทิ้ง
การแก้ไข ปรับปรุงข้อมูลที่ผิดพลาด
การทำความสะอาดข้อมูล
2)การวิเคราะห์ข้อมูล
ทำความเข้าใจปัญหาและกำหนดสาระสำคัญของปัญหาและข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
พิจารณาสิ่งใดเป็นผลลัพท์และข้อมูลที่จำเป็นในการหาผลลัพท์
การดำเนินการที่เกี่ยวข้อง
กำหนด
ข้อมูลหลัก
ที่ใช้ประมวลผล
กำหนด
ปริมาณข้อมูล
ให้เพียงพอ
กำหนด
กรอบเวลา
ในการรวบรวม
กำหนด
ชนิดและรูปแบบ
แบ่งได้ 4 ชนิด
1.ตัวเลข
คำนวณได้ เช่น จำนวนเต็ม ทศนิยม
2.ตัวอักขระ
คำนวณไม่ได้ แต่เรียงลำดับได้ เช่น เบอร์ ที่อยู่ ชื่อ
3.วันที่
ข้อมูลที่ประกอบด้วย วัน เดือน ปี
4.เวลา
ข้อมูลที่ประกอบด้วย ชั่วโมง นาที เวลา
5)การประมวลผลข้อมูล
ให้ได้สารสนเทศตามวัตถุประสงค์ อาจได้ข้อค้นพบ นำไปสู่การสรุปที่สอดคล้องกับปัญหา
การวิเคราะห์เชิงพรรณา
ดำเนินการกับข้อมูลเชิงปริมาณ เช่นจำนวนเต็ม จำนวนจริง
วิเคราะห์ข้อมูลด้วย
ค่าสถิติ
ค่าสตถิติที่นิยมใช้
1.ค่าเฉลี่ย Mean
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของชุดข้อมูล
2.มัธยฐาน Median
ค่าที่อยู่กึ่งกลางของข้อมูล แบ่งข้อมูลเป็น 2 ส่วน
3.ฐานนิยม Mode
ค่าที่ซ้ำกันสูงสุดของชุดข้อมูล
4.ร้อยละ Precentage
ค่าข้อมูลเมื่อคิดเป็นสัดส่วน เทียบกับ100%
5.ความถี่ Frequency
จำนวนซ้ำของแต่ละข้อมูลในชุดข้อมูล
6.พิสัย Range
ค่าสูงสุด-ค่าต่ำสุด ของชุดข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลแบบอื่นๆ
เชิงอนุมาน
หาข้อมูลจากบางส่วน แล้วเอาไปคิดว่าเป็นของทั้งหมด
เชิงทำนาย
วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อทำนายอนาคต
เชิงปัญญา
วิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ นำคอมพิวเตอร์มาช่วย
1)การนิยามปัญหา
เป็นการตั้งคำถามที่สนใจและหาคำตอบ
นิยามปัญหากระชับและชัดเจน
โดยจะเป็นผลลัพท์หรือสถานการณ์ที่เกี่ยวข้อง
3)การรวบรวมข้อมูล
ได้มาซึ่งข้อมูลครบถ้วน
จำเป็นต่อการแก้ปัญหา
จำนวน ลักษณะ ประเภทที่ต่างกัน
มี 3 ขั้นตอน
1.กำหนดแหล่งข้อมูล
1.1ปฐมภูมิ
เก็บจากแหล่งข้อมูลโดยตรง
1.2ทุติยภูมิ
นำมาจากแหล่งที่มีผู้รวมไว้แล้ว
2.กำหนดวิธีการรวบรวมข้อมูล
ให้เหมาะสมกับลักษณะและชนิดของข้อมูล
ประกอบด้วย
2.1การสังเกต
เฝ้าดูและจดบันทึก
2.2การสำรวจ/สอบถาม
จัดทำแบบสอบถามกับผู้ตอบที่มีความเชี่ยวชาญ
2.3การสัมภาษณ์
การพูดคุย
ใช้เวลานานและค่าใช้จ่ายสูง
2.4การสนทนากลุ่ม
คัดเลือกกลุ่มเป้าหมายจัดการสนทนา เป็นการรวบรวมข้อมูลเชิงความคิดเห็น
3.กำหนดวิธีการจัดเก็บข้อมูลที่รวบรวมได้
เลือกเครื่องมือในการเก็บข้อมูล
6)การนำเสนอข้อมูล
นำเสนอข้อสรุปจากการปรมวลผล ในรูปที่สื่อความหมายชัดเจน
ทำข้อมูลให้เป็นรูปภาพ