Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อนในขณะตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อนในขณะตั้งครรภ์
เคสกรณีศึกษาที่ 4
1.ตั้งครรภ์นอกมดลูก
หมายถึง การตั้งครภ์ที่ไม่ได้อยู่ในโพรงมดลูก พบได้ประมาณร้อยละ 2 ของการตั้งทั้งหมด ซึ่งภาวะนี้เป็นสาเหตุร้อยละ 10 ของการเสียชีวิตที่สัมพันธ์กับการตั้งครรภ์ทั้งหมด และเป็นสาเหตุการเสียชีวิตถึงร้อยละ 75 ของการตั้งครรภ์ในไตมาสแรก
ชนิดของการตั้งครรภ์นอกมดลูก
Cervical pregnancy คือการตั้งครรภ์บริเวณปากมดลูก
Ovarian pregnancy คือ การตั้งครรภ์ที่รังไข่
Cesarean scar pregnancy คือการตั้งครรภ์บริเวณแผลผ่าตัดคลอดเดิม
Abdominal pregnancy คือการตั้งครรภ์ในช่องท้อง
Heterotopic pregnancy คือ การตั้งครรภ์ที่มีทั้งนอกมดลูก และการตั้งครรภ์ปกติในโพรงมดลูก
ปัจจัยเสี่ยง
หญิงตั้งครรภ์ทุกคนมีโอกาสที่จะเกิดการตั้งครรภ์นอกมดลูกได้เสมอ แต่มีบางคนที่มีดอกาสสูงกว่าคนทั่วไปในการเกิดการเกิดการตั้งครรภ์นอกมดลูก
อาการและอาการแสดง
อาการปวดท้อง เลือดออกผิกปกติจากช่องคลอด และขาดประจำเดือน
อาการกดเจ็บที่ปีกมดลูกและเจ็บเมื่อโยกปากมกลูก
จากกรณีศึกษา
หญิงตั้งครรภ์บอกว่ำ “ครรภ์แรก ขณะอายุครรภ์ประมำณ 10 สัปดาห์มีเลือดออก
ทำงช่องคลอดเล็กน้อย มีลักษณะสีคล้ำ มีอาการปวดท้องมาก ท้องแข็งตึง
ขณะที่ญาติพาไปโรงพยาบาล รู้สึก
เหนื่อยมาก เหงื่อออก มือเท้าเย็น” ซึ่งในการตั้งครรภ์นอกมดลูกนี้ส่วนใหญ่แล้วตัวอ่อนประมาณ 95-96% จะ
ไปฝังตัวอยู่ที่ท่อนำไข่หรือปีกมดลูก (Tubal pregnancy) ซึ่งเป็นกล้ามเนื้อบาง ๆ
เมื่อทารกเจริญเติบโตขึ้นก็จะทำให้ท่อนำไข่แตกในเวลา
ต่อมา เพราะผนังของท่อรังไข่จะค่อนข้างบาง ไม่เหมือนผนังโพรงมดลูกซึ่งหนามาก เมื่อท่อนำไข่แตกก็จะเกิด
การตกเลือดออกในช่องท้อง ทำให้หญิงตั้งครรภ์มีอาการปวดท้องมาก ซึ่งถ้ำหญิงตั้งครรภ์เสียเลือดมำกก็
อาจจะทำให้ช็อกได้
สาเหตุ
ปัจจัยขัดขวำงกำรเดินทำงของไข่ที่ผสมแล้วไม่ให้เข้ำไปในโพรงมดลูก ได้แก่
1.4 เนื้องอกมดลูก (myoma uteri)
1.3 เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ (endometriosis)
1.2 เคยผ่าตัดเกี่ยวกับท่อนำไข่ ได้แก่ salpingostomy salpingoplasty
1.1 พังผืดรอบท่อนำไข่เกิดหลังการอักเสบของอวัยวะในอุ้งเชิงกราน (PID) การแท้งติดเชื้อ
การติดเชื้อหลังคลอดและไส้ติ่งอักเสบ
แนวทางการวินิจฉัยเพิ่มเติม
ตรวจภำยใน(Pelvic Exam) บริเวณท่อน ำไข่ หรือรังไข่
ตรวจอัลตรำซำวด์
ตรวจเลือดหำฮอร์โมน hCG
ภาวะแทรกซ้อนต่อมารดา
มีภาวะอุ้งเชิงกรานอักเสบ มดลูกอักเสบ ท่อนำไข่อักเสบ รังไข่เกิดการอักเสบหรือติดเชื้อ
ท่อนำไข่ได้รับความเสียหาย มีลักษณะผิดรูปผิดร่าง
เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
เกิดความไม่สมดุลของฮอร์โมนในกระบวนการตั้งครรภ์
เกิดการตกเลือด ภาวะเลือดแข็งตัวในหลอดเลือดแบบแพร่กระจาย (Disseminated
Intravascular Coagulopathy: DIC) ภาวะช็อค และอาจนำไปสู่การเสียชีวิตในเวลาต่อมาได้
ภาวะแทรกซ้อนต่อทารกในครรภ์
กำรเจริญเติบโตไม่เป็นไปตำมปกติทำรกจะไม่สำมำรถมีชีวิตอยู่รอดได้
แนวทางการรักษา
การรักษาแบบประคับประคองและการสังเกตอาการ
ผู้ป่วยไม่มีอาการ ไม่มีหลักฐานที่บ่งบอกว่ามีเลือดออกในช่องท้อง
มีค่า HCG น้อยกว่า 1,000 มิลลิยูนิต/มิลลิลิตร
2.ตั้งครรภ์เกินกำหนด
ภาวะการตั้งครรภ์ที่มีอายุครรภ์42 สัปดาห์เต็ม หรือมากกว่าโดยนับจากวันแรกของระดูครั้งสุดท้ายที่มาตามปกติเราอาจเรียกอีกชื่อว่า prolonged pregnancy ส่วนคำว่า 42nd week pregnancy หมายถึงการตั้งครรภ์ตั้งแต่ 41 สัปดาห์เศษถึง 41 สัปดาห์6 วันเศษ แต่คำว่ำ postdates เป็นคำที่ควรหลีกเลี่ยงเนื่องจากให้ความหมายไม่ชัดเจนนอกจากนี้
ยังมีคำว่า postmature ซึ่งจะหมายถึงทารกที่มีลักษณะอาการแสดงทางคลินิกอันเป็นผลจากการตั้งครรภ์เกิน กำหนดเช่นผิวหนังลอกเหี่ยวย่นโดยเฉพาะที่มือและเท้าเล็บยาวรูปร่างผอมยาวเป็นต้น
จากกรณีศึกษา
หญิงตั้งครรภ์บอกว่า “ทารกในครรภ์ดิ้นดีแต่เวลา ทารกดิ้น หญิงตั้งครรภ์จะบ่นว่ามีอาการจุก เจ็บที่หน้าท้อง สัปดาห์ที่แล้วแพทย์นัดให้มาเร่งคลอด แต่ไม่ได้มาตามนัดเนื่องจากมีภาระทางบ้าน”
วันครบกำหนดคลอด วันที่ 6 สิงหาคม 2565 มาพบแพทย์เพื่อมาเร่งคลอด แรกรับตรวจครรภ์พบระดับ
ยอดมดลูก ¾ > 🞊 ทำรกท่า LOA, FHR 134 /min คะเนน้ำหนักทารกประมาณ 3,300 กรัม ยังไม่มีอาการเจ็บครรภ์
ผล NST non-reactive ผล Ultrasound ค่า AFI = 4 cm. P.V. Cx. not dilate, Cx. effacement
soft, Membranes intact, station 0
ปากมดลูกอยู่ตรงกลาง มีลักษณะนุ่มปานกลางซึ่งในการตั้งครรภ์เกิน
กำหนด เป็นภาวะที่พบบ่อยในมารดาตั้งครรภ์ โดยภาวะดังกล่าวจะส่งผลต่อมารดาและทารก ได้แก่ภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด โรคทางระบบทางเดินหายใจของทารก ความผิดปกติของพัฒนาการรวมถึงสติปัญญาของทารกได
สาเหตุ
สาเหตุแท้จริงที่ทำให้เกิดการตั้งครรภ์เกินกำหนดยังไม่ทราบแน่นอนมีผู้พยายามอธิบายว่าน่าจะเป็นผลมาจากความผิดปกติของการสร้างสาร prostaglandin หรืออาจเป็นผลจากปากมดลูกไม่ตอบสนองต่อสาร prostaglandin ทำให้ไม่มีอาการเจ็บครรภ์คลอดอย่างไรก็ตามมีภาวะที่พบร่วมกับการตั้งครรภ์เกินกำหนดที่พบบ่อยคือการคำนวณอายุครรภ์ที่ผิดพลาด (Wrong date) อันเป็นผลจากการจำวันแรกของระดูครั้งสุดท้าย
ผิดหรือผลจากการตกไข่ที่ไม่แน่นอนดังที่กล่าวแล้วข้างต้นภาวะอื่นที่อาจพบร่วมกับการตั้งครรภ์เกินกำหนด ไ ด้ แก่ ภาวะ anencephaly, fetal adrenal hypoplasia, absence of the fetal pituitary gland,
placental sulfatase deficiency
แนวทางการวินิจฉัยเพิ่มเติม
ตรวจปัสสาวะ
ตรวจติดตามด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์
ตรวจโดยการกระตุ้นให้มดลูกหดรัดตัว
ภาวะแทรกซ้อนต่อมารดา
เสี่ยงที่จะผ่าคลอดเพราะทารกในครรภ์มีขนาดตัวที่ใหญ่ขึ้นหัวโตขึ้นทำให้คลอดยากทำให้ คุณแม่ต้องเสี่ยงผ่าตัดคลอดต้องใช้เครื่องดูดสุญญากาศช่วยในการคลอดหรือต้องใช้คีมช่วยในการคลอด
ทารกตัวใหญ่ขึ้นส่งผลให้ช่องคลอดฉีกขาดในขณะคลอด
มีโอกาสที่จะตกเลือดหลังคลอดมากกว่าครรภ์ปกติเนื่องจากมดลูกหดตัวไม่ดีเกิดจากมี บาดแผลบริเวณช่องคลอด
ภาวะแทรกซ้อนต่อทารกในครรภ์
ทารกเสี่ยงที่จะเสียชีวิตในครรภ์ยิ่งถ้าหากเกินกำหนดมากขึ้นเท่าใดโอกาสจะเสียชีวิตของทารกจะมีมากยิ่งขึ้นเท่านั้น 2. ทารกในครรภ์มีความเสี่ยงต่อการสำลักน้ำคร่ำและอาจเกิดการติดเชื้อในระบบทางเดิน หายใจหลังคลอดได้สูง 3. ทารกเสี่ยงต่อการบาดเจ็บขณะคลอดเช่นบาดเจ็บที่เส้นประสาทแขนเนื่องจากทารกตัว ใหญ่ทำให้ไหล่ติดมดลูกขณะที่คลอด 4. รกเสื่อมเพราะอายุครรภ์เกินกำหนดส่งผลให้ทารกในครรภ์ขาดออกซิเจนเรื้อรัง (Chronic hypoxia) ทำให้ทารกเจริญเติบโตไม่เต็มที่น้ำคร่ำจะน้อยลงเมื่อมดลูกยิ่งหดตัวรกจะยิ่งขาดออกซิเจนเพิ่มขึ้นทำ ให้ทารกอยู่ในภาวะเครียด (Fetal distress) หัวใจเต้นผิดปกติและอาจเสียชีวิตได
แนวทางการรักษา
สังเกตการดิ้นของทารก
สังเกตอาการและอาการแสดงของการเจ็บครรภ์
แนะนำอาการผ่อนคลายความเครียดและอาการไม่สุขสบาย
3.น้ำคร่ำน้อย
หมายถึง การตั้งครรภ์ที่มีปริมาณน้ำคร่ำน้อยกว่า 500 มิลลิลิตรหรือมีปริมาณน้ำคร่ำน้อยกว่ำ 2SD ของปริมาณปกติที่อายุครรภ์นั้น ๆ หรือการตรวจด้วยคลื่นเสียง ความถี่สูง พบมีค่าดัชนีปริมาณน้ำคร่ำ (amniotic fluid index [AFI) น้อยกว่า 5 เซนติเมตร หรือค่าที่วัดแอ่ง ลึกที่สุดของน้ำคร่ำ (single deepest pocket [SDP) น้อยกว่า 2 เซนติเมตร บางรายปริมาณน้ำคร่ำมีน้อยมาก อาจจะลดลงจนเหลือเพียง 2-3 มิลลิลิตร มีลักษณะข้นเหนียว
จากกรณีศึกษา : ผล Ultrasound ค่ำ AFI = 4 cm.น้ำเดิน ลักษณะน้ำคร่ำสีแดงคล้ายน้ำล้างเนื้อ ฟังเสียงหัวใจทารกในครรภ์ด้วยเครื่อง Doppler พบ FHR 96-104 ครั้ง/นาทีน้ำคร่ำหรือน้ำขุนหัว เป็นสาร น้ำที่พบในถุงน้ำคร่ำ ซึ่งหุ้มรอบทารกในครรภ์ระหว่างการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ขนาดของถุงน้ำคร่ำ จะขยายใหญ่ขึ้นและมีสารน้ำอยู่ภายใน ซึ่งปริมาณน้ำคร่ำส่วนใหญ่ได้มาจากการถ่ายปัสสาวะของทารกใน ครรภ์หากทารกไม่มีไตจะไม่สามารถสร้างปัสสาวะได้ทำให้ไม่มีน้ำคร่ำหรือมีน้อยมาก (oligohydramnios) ถุงน้ำคร่ำจะป้องกันทารกจากเชื้อแบคทีเรียต่างๆในช่องคลอด และอยู่ป้องกันไม่ให้ส่วนของทารกโผล่พ้น ออกมา ดังนั้นเมื่อน้ำคร่ำน้อย ก็อาจเกิดภาวะ pulmonary hypoplasia ในทารกได้บ่อยเนื่องจาก มีการกด ต่อผนังทรวงอก โดยมดลูกที่มีน้ำคร่ำน้อยจะขัดขวางการขยายตัวของปอดและผนังทรวงอก ขาดน้ำที่จะหายใจ เข้าไปใน teminal airway ของปอด ผลตามมา คือ การหยุดเติบโตของปอด อาจเกิดจากการผิดปกติของปอดเอง จะเห็นว่าปริมาณน้ำคร่ำที่หายใจเข้าในตัวทารกที่ปกติ
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
ด้านทารกในครรภ์ได้แก่
1.1 ความผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะ ได้แก่ ภาวะไตฝ่อทั้งสองข้าง (renal agenesis
infantile polycystic kidney และ bladder outlet obstruction
1.2 ทารกมีควำมผิดปกติของโครโมโซม ได้แก่ trisomy 13, triploidy, Turner Syndrome
1.3 ทารกมีภำวะ chronic hypoxia ทาให้เลือดไหลไปปอดไตน้อยลง ส่งผลให้มีน้ำจากปอด
และไตลดลง
1.4 ทารกแฝดที่มีภาวะ twin-twin transfusion syndrome
ด้านมารดา
ได้แก่ การรั่วของถุงน้ำคร่ำเป็นเวลานาน (prolonged PROM) ตั้งครรภ์เกินกำหนด (postterm pregnancy) ภาวะเบาหวาน ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (PIH) ภาวะเบาจืด (diabetes insipidus) รวมทั้งการได้รับยาบางอย่างเช่น Indomethacin, angiotensin-conVerting enzyme inhibitors เป็นต้น
แนวทางการวินิจฉัยเพิ่มเติม
การวินิจฉัยด้วยการทำ ulrasound deepest vertical pocket (DVP) น้อยกว่า 2 ซu. arniotic fuid index (AFD) น้อยกว่า 5 ซม.
ภาวะแทรกซ้อนต่อมารดา : ไม่ก่อให้เกิดอำกำรผิดปกติแก่มำรดำ
ภาวะแทรกซ้อนต่อทารกในครรภ์
ขัดขวางการขยายตัวของปอดและผนังทรวงอก 7
ขาดน้ำที่จะหายใจเข้าไปใน terminal airway ของปอด และผลตามมาคือกำรหยุดกำร เติบโตของปอด
เสี่ยงต่อการขาดออกซิเจนสูงและสายสะดือถูกกด
แนวทางการรักษา
Amnioinfusion ;ใส่ NSS เข้าโพร่งมดลูกแต่เพิ่มความดันของรก
และลดเลือดที่ไปเลี้ยงรก
Vasa previa
จากกรณีศึกษา : 5 ชั่วโมงต่อมาหลังให้ยาเร่งคลอด ผู้คลอดมีอาการเจ็บครรภ์ถี่ และแจ้งว่ามีน้ำไหล ออกมา จากช่องคลอด พยาบาลตรวจพบว่าน้ำเดิน ลักษณะน้ำคร่ำสีแดงคล้ายน้ำล้างเนื้อ ฟังเสียงหัวใจทารก ในครรภ์ด้วยเครื่อง Doppler พบ FHR 96-104 ครั้ง/นำท
สาเหตุ : เกิดจากการที่สายสะดือเกาะ Vasa Previa หมายถึง ภาวะที่หลอดเลือดของสายสะดือหรือ ของรกทอดอยู่บนเยื่อหุ้มทารกและทอดผ่านบริเวณปากมดลูก และอยู่ต่ำกว่าส่วนนำของทารก เมื่อมีการฉีกขาดของเยื่อหุ้มทารกและเส้นเลือดในบริเวณดังกล่ำวจะเรียกว่ำ ruptured vasa previa
แนวทางการวินิจฉัยเพิ่มเติม
การซักประวัติได้แก่ ประวัติการมีภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนเจ็บครรภ์คลอด
การตรวจร่างกาย พบน้ำคร่ำมีเลือดปน เสียงหัวใจของ ทารกผิดปกติตรวจภายในอาจคลำได้ลักษณะคล้ายหลอดเลือดที่เต้นเข้าจังหวะ (synchronous) กับเสียงหัวใจของทารก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่การตรวจแยกเม็ดเลือด แดงของทารกกับของมารดา
ภาวะแทรกซ้อนต่อทารกในครรภ
ทำให้ทารกเสียชีวิตจากการเสียเลือดรุนแรง (Fetal exsanguination)
ได้ภายในเวลาสั้นๆ
แนวทางการรักษา
การรักษาแบบให้คลอด การรักษาแบบประคับประคอง ในกรณีที่อายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์ ทารกหนักน้อยกว่า 2,500 g เลือดหยุด ไมม่เจ็บครรภ์ ทารกมีชีวิต ให้ผ่าคลอด
การรักษาแบบประคับประคอง ในกรณีที่อายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์ ทารกหนักน้อยกว่า 2,500 g เลือดหยุด ไมม่เจ็บครรภ์ ทารกมีชีวิต ห้าม PV, PR
เคสกรณีศึกษาที่ 5
รกเกาะต่ำ (Placenta previa) แบบ Low lying placenta
สาเหตุของการเกิดรกเกาะต่ำยังไม่ทราบแน่ชัด แต่มีปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ดังนี
อายุ พบว่าสตรีมีครรภ์ที่อายุเกิน 35 ปีพบภาวะรกเกาะต่ำเพิ่มขึ้นร้อยละ 1
จำนวนครั้งของการคลอด
ความผิดปกติของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยง deciduas
รกผิดปกติเช่น รกใหญ่กว่าปกติ
การวินิจฉัยเพิ่มเติม
การตรวจร่างกาย ได้แก่ตรวจพบเลือดสีแดงสดออกทางช่องคลอด หรือมีภาวะซีดท
การซักประวัติได้แก่การมีเลือดออกทางช่องคลอดโดยไม่มีอาการเจ็บท้อง
การตรวจพิเศษ ได้แก่การตรวจอัลตร้าซาวน์ซึ่งเป็นวิธีที่ทำง่าย ปลอดภัย และถูกต้อง แม่นยำ
แนวทางการรักษา
การรักษาแบบประคับประคอง ในกรณีที่อายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์ ทารกหนักน้อยกว่า 2,500 g เลือดหยุด ไมม่เจ็บครรภ์ ทารกมีชีวิต ห้าม PV, PR
การรักษาแบบให้คลอด การรักษาแบบประคับประคอง ในกรณีที่อายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์ ทารกหนักน้อยกว่า 2,500 g เลือดหยุด ไมม่เจ็บครรภ์ ทารกมีชีวิต ให้ผ่าคลอด
การตั้งครรภ์แฝด (Multifetal Pregnancy)
แฝดที่เกิดจากไข่ใบเดียว (Monozygotic) ไม่ว่าจะเป็นแฝดคู่แฝดสยามหรืออื่นๆ จะไม่ทราบสาเหตุแต่แฝดที่เกิดจากไข่หลายใบ(Polyzygotic) เชื่อว่าเกิดจากปัจจัยหลายประการ คือ
กรรมพันธุ์(Heredity) มีรายงานพบว่า มารดาที่เป็นแฝดชนิดไข่ 2 ใบ มีอุบัติการณ์ของครรภ์แฝดในบุตรของตน 1:58 ส่วนพ่อที่เป็นแฝดชนิดไข่ 2 ใบ มีอุบัติการณ์ของแฝดใน บุตรของตนเพียง 1:116 เท่านั้น
เชื้อชาติ(Race) ชาวนิโกร (ผิวดำ) พบอุบัติการณ์ของครรภ์แฝดมากกว่าชาวคอเอเซียน (ผิวขาว) และชาวเอเซียน (ผิวขาว) พบอุบัติการณ์ของครรภ์แฝดมากกว่าชาวเอเซียน (ผิวเหลือง)
อายุและจำนวนครั้งของการคลอดบุตร อายุยิ่งมากขึ้นหรือเคยคลอดบุตรหลายคน อุบัติการณ์ของครรภ์แฝดยิ่งเพิ่มขึ้น
ภาวะทุพโภชนาการอาจลดการเกิดครรภ์แฝดพบว่าระหว่างสงครามโลกมีอุบัติการณ์แฝดลดลง
ยากระตุ้นการตกไข่ซึ่งได้แก่ โคลมิฟีน ซีเตรท (Clomiphene citrate), โกนาโด โทรปิน(Gonadotropin) เหล่านี้จะกระตุ้นให้มีการตกไข่คราวละหลายใบ อุบัติการณ์ของครรภ์แฝดจึงเพิ่มขึ้น
การวินิจฉัยเพิ่มเติม
ประวัติเช่น มีประวัติครรภ์แฝดในครอบครัว การตั้งครรภ์อายุมาก การตั้งครรภ์หลายครั้ง
การตรวจร่างกายและหน้าท้อง
การตรวจภายใน
การตรวจพิเศษ
ผลกระทบ
ผลต่อมารดา
การคลอดก่อนกำหนด (Premature labor)
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์(Gestational hypertension)
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนดคลอด (Premature rupture of membranes)
รกเกาะต่ำ (Placenta previa)
โลหิตจาง (Anemia)
ผลต่อทารก
ภาวะอันตรายปริกำเนิดเพิ่มขึ้น
3.3 การคลอดก่อนกำหนด
3.2 การบาดเจ็บจากการคลอด
3.1 การติดเชื้อ พบในรายที่มีประวัติถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนดคลอด
คลอดก่อนกำหนด (Immature หรือ premature baby)
ทารกเสียชีวิตในครรภ์(Fetal death in utero)
แนวทางการดูแลรักษา
ภาวะโภชนาการ การตั้งครรภ์แฝดมีความต้องการแคลอรี โปรตีน เกลือแร่ วิตามิน
การเฝ้าระวังสุขภาพทารกขณะตั้งครรภ์
ภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด (Preterm labor)
ปัจจุบันเชื่อว่าการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดเป็นกลุ่มอาการ (preterm parturition syndrome) ซึ่งมีสาเหตุการเกิด (etiologies) หลายอย่างร่วมกันมีผู้อธิบายพยาธิกำเนิดของกลุ่มอาการนี้ประกอบด้วย ความผิดปกติต่างๆ
ปัจที่ปรับแก้ไขไม่ได้
เศรษฐานะทางสังคมไม่ดี
ปากมดลูกบาดเจ็บหรือผิดปกติ เช่น ปิดไม่สนิท คอมดลูกสั้น < 25 มม. (เมื่อ GA < 30 wk.)
อายุ < 18 ปีหรือ > 35 ป
เคยคลอดก่อนกำหนดในครรภ์ก่อน
มดลูกผิดปกติหรือมีเนื้องอก
มดลูกยืดขยายมาก ครรภ์แฝด ครรภ์แฝดน้ำ
การหดรัดตัวของมดลูกมากผิดปกต
ภาวะเลือดออกก่อนคลอด จากภาวะรกเกาะต่ำ หรือรกลอกตัวก่อนกำหนด
ปัจจัยที่มีโอกาปรับแก้ไขได้
การสูบบุหร
การเสพสารเสพติด เช่น โคเคน เฮโรอีน
ไม่ได้ฝากครรภ
ขาดสารอาหาร ภาวะทุพโภชนการ
น้ำหนักตัวก่อนตั้งครรภ์น้อย (< 50 กก.)
ภาวะซีด (anemia)
การวินิจฉัยเพิ่มเติม
การซักประวัติพบลักษณะเหมือนการเจ็บครรภ์จริง
การตรวจร่างกาย พบมดลูกหดรัดตัวสม่ำเสมออย่างน้อย 4 ครั้งใน 20 นาทีหรือ 8 ครั้ง ใน 60นาทีร่วมกับปากมดลูกเปิดตั้งแต่ 1 เซนติเมตร
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ผลการตรวจช่วยในการวินิจฉัย
ผลกระทบ
ผลต่อทารก
ทารกคลอดก่อนกำหนดมีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตสูงถึง 15 เท่าเมื่อเทียบกับทารกครบ
กำหนด
ภาวะแทรกซ้อนในระยะแรก ได้แก่ bronchopulmonary dysplasia, cerebral palsy,
cerebral atrophy, neurodevelopmental delay, blindness as retinal detachment
ภาวะแทรกซ้อนในระยะแรก ได้แก่ respiratory distress syndrome (RDS),
intraventricular hemorrhage (IVH)
ผลต่อมารดา
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
เกิดภาวะเครียดและความวิตกกังวลเกี่ยวกับสุขภาพของทารกและค่าใช่จ่ายในการดูแลรักษา
เสี่ยงต่อการได้รับผลกระทบจาการนอนบนเตียงและถูกจำกัดกิจกรรมเป็นเวลานาน ทั้ง ด้าน
ร่างกาย จิตใจ และสังคม
แนวทางการรักษา
เฝ้าระวัง
pulmonary edema
Heart rate มากกว่า 140 ครั้งต่อนาที
Fetal distress
Hypotension (Ps ลดลงมากกว่าเดิม 20 mmHg., Pd ลดลงมากว่าเดิม 15 mmHg.
การตั้งครรภ์ในสตรีสูงวัย (Elderly gravida)
การตั้งครรภ์ในสตรีที่อายุมากกว่า 35 ปีมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากปัจจัยส่งเสริมต่างๆต่อไปนี
มีวิธีการคุมกำเนิดที่หลากหลายและมีประสิทธิภาพ
มีการศึกษาสูงขึ้น มีความเจริญเติบโตในตำแหน่งหน้าที่การงาน และมีการทำงานเทียบ เคียงได้กับผู้ชาย ทำให้แต่งงานช้า
คู่สมรสต้องการมีความมั่นคงทางการเงินก่อน จึงชะลอการมีบุตรออกไป
ความเจริญและความสำเร็จของการใช้เทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์ทำให้สตรีที่แต่งงานเมื่อ อายุมากสามารถมีบุตรตามความต้องการได้
ผลกระทบ
ผลต่อมารดา
อัตราการตายของมารดาสูงขึ้น พบว่าสตรีที่ตั้งครรภ์ในช่วงอายุ35-39 ปีมีอัตราการตายสูงกว่าสตรีตั้งครรภ์ในช่วงอายุ20-24 ปีประมาณ 4 เท่า
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ในขณะตั้งครรภ์ระยะคลอด และหลังคลอด เนื่องจาก สตรีที่อายุมากมักมีปัญหาของระบบไหลเวียนโลหิตและเนื้อเยื่อตามส่วนต่างๆ ของร่างกายมักจะ ยืดหยุ่นไม่ดีภาวะแทรกซ้อนดังกล่าว ได้แก่
2.2 การแท้ง การตั้งครรภ์นอกมดลูก
2.3 รกเกาะต่ำ รกลอกตัวก่อนกำหนด
2.1 ภาวะความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ
2.4 ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด ภาวะน้ำคร่ำน้อย
2.5 หลอดเลือดดำขอดพอง ริดสีดวงทวาร การอักเสบของหลอดเลือดดำ
ผลต่อทารก
ความพิการแต่กำเนิดของทารกโดยเฉพาะ Down's syndrome ซึ่งอัตราเสี่ยงในการเกิด ความผิดปกติทางโครโมโซมจะเพิ่มตามอายุของสตรีมีครรภ์
การคลอดก่อนกำหนด หรือเกินกำหนด
ทารกตัวโต และคลอดไหล่ยาก
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
อัตราทุพพลภาพและอัตราตายปริกำเนิดสูงขึ้น
แนวทางการรักษา
วินิจฉัยภาวะต่างๆ ที่มีอยู่และไม่ได้เตรียมตัวมาก่อนการตั้งครรภ์ รักษาภาวะต่างๆที่มีอยู่
ให้คำแนะนำปรึกษาทางพันธุศาสตร์
ลดความเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนของมารดาและทารก
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนต่อทารก
ดูแลด้านจิตใจของหญิงตั้งครรภ์ที่มีอายุมาก
ส่งเสริมและพัฒนาความสามารถของหญิงตั้งครรภื