Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 8 บทบาท หน้าที่ และศักยภาพของนักส่งเสริม, maxresdefault (1) -…
หน่วยที่ 8
บทบาท หน้าที่ และศักยภาพของนักส่งเสริม
บทบาท หน้าที่ของนักส่งเสริม
นักส่งเสริม หมายถึง ผู้จัดบริการความรู้แก่เกษตรกรหรือผู้นำการเปลี่ยนแปลงให้เกษตรกรมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นอย่างยั่งยืน
ประเภทของนักส่งเสริม
เจ้าหน้าที่ส่งเสริมภาครัฐ
นักส่งเสริมภาคเอกชน
นักส่งเสริมภาคประชาชน
บทบาทของนักส่งเสริม
ผู้ถ่ายทอดความรู้
ที่ปรึกษา
ผู้ประสานงาน
นักรวมกลุ่ม
นักวิจัยและพัฒนา
ผู้จัดกระบวนการ
นักประชาสัมพันธ์
ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
หน้าที่ของนักส่งเสริม
ถ่ายทอดความรู้
ส่ง้สริมการรวมกลุ่ม
ให้คำปรึกษา
เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ให้บริการข้อมูล
เปลี่ยนแปลงเกษตรกร
ข้อพึงปฏิบัติและพึงระวังของนักส่งเสริม
คิดไตร่ตรอง
เชื่อมั่นในงานที่ทำ
ศึกษาและให้บริการแก่เกษตรกร
ยึดถือความถูกต้อง
เลี่ยงการสร้างปรปักษ์
สร้างพันธมิตรโดยเฉพาะผู้นำ
ยิ้มกับทุกคน
ติต่อกับผู้ร่วมงานสม่ำาสมอ
สื่อสารให้เข้าใจ กระชับ ชัดเจน
อย่าเกรงที่จะพูดว่าไม่รู้
ประชาสัมพันธ์การประชุม
เข้าใจบริบทพื้นที่
รักษาผลประโยชน์ร่วมของทุกฝ่าย
อย่าคิดถึงประโยชน์ส่วนตน นึกถึงประโยชน์ส่วนรวม
แต่งกายเหมาะสม
ยืนสง่าผ่าเผย มองหน้าผู้ฟัง
แนะนำตำแหน่งผู้พูดอย่างเหมาะสม
เล่าเรื่องตลกอย่างเหมาะสม
ไม่พูดจาหยาบคาย
พูดให้น้อย
ทำงานอย่างมีพลัง
ทำงานที่สำคัญ
ทำงานตามเป้าหมาย
พูดแต่สิ่งดี รักองค์กร
แสดงออกซึ่งความกล้าหาญ
การเสริมสร้างศักยภาพของนักส่งเสริม
ความหมายแยกเป็น 4 ประเภท
สมรรถนะขององค์กร
สมรรถนะหลัก
สมรรถนะตามสายอาชีพ
สมรรถนะด้านการบริหาร
องค์ประกอบของสมรรถนะ
ความรู้
ทักษะ
คุณลักษณะส่วนบุคคล
แนวทางการเสริมสร้างศักยภาพของนักส่งเสริม
ตามโครงสร้างบทบาทหน้าที่ใน
องค์กร
ตามลักษณะของนักส่งเสริม
ตามช่วงอายุ
การเสริมสร้างศักยภาพของ
เจ้าหน้าที่ส่งเสริมภาครัฐ
กำหนดสมรรถนะที่จำเป็น
วางแผนให้สอดคล้องกับสมรรถนะ
ควบคุมคุณภาพการปฏิบัติงาน
ประเมินประสิทธิภาพ
การเสริมสร้างศักยภาพของ
นักส่งเสริมเอกชน
กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ หรือค่านิยมองค์กร
กำหนดสมรรถนะหลักขององค์กร
กำหนดสมรรถนะของบุคลากร
กำหนดรายละเอียดงาน
กิจกรรมเสริมสร้างการเรียนรู้
การเสริมสร้างศักยภาพของ
นักส่งเสริมภาคประชาชน
เรียนรู้จากการสอนงาน
เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติ
เรียนรู้จากงานวิจัย
กรณีศึกษาการเสริมสร้างศักยภาพของนักส่งเสริม
เจ้าหน้าที่ส่งเสริมภาครัฐ (ใช้การเรียนรู้ในระบบ
e-learning เป็นกรณีศึกษา)
สร้างศักยภาพสอดคล้องสมรรถนะ
ควบคุมคุณภาพในการปฏิบัติงาน
ประเมินประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน
นักส่งเสริมภาคเอกชน
(บริษัท น้ำตาลพิษณุโลก จำกัด เป็นกรณีศึกษา)
ตามทิศทางองค์กร
ตามรายละเอียดของงาน ตามตำแหน่ง
หน้าที่ที่รับผิดชอบ
ใช้การฝึกอบรมเป็นหลัก
นักส่งเสริมภาคประชาชน
(คก.พัฒนาขีดความสามารถการดำเนินธุรกิจ
ของผู้ประกอบการ SMEs)
เสริมสร้างสมรรถนะจากกระบวนการทำงาน
กิจกรรมสนับสนุนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร