Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะฉุกเฉินมางสูติศาสตร์, นางสาวศิรินทร์ทิพย์ บุตรศรี รหัสนักศึกษา…
ภาวะฉุกเฉินมางสูติศาสตร์
prolapsed cord
(ผู้คลอดที่มีภาวะสายสะดือย้อย)
ความหมาย ภาวะที่สายสะดือลงมาอยู่ข้างๆ หรืออยู่ตำ่กว่าส่วนนำของทารกในครรภ์
ชนิดของสายสะดือย้อย
1.Overt prolapsed cord :เกิดในรายที่ถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว
2.Forelying cord หรือ Funic presentation :สายสะดือย้อยโดยที่ถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก
3.Occult prolapsed cord : สายสะดือ
ส่วนนี้จะถูกกดกับช่องทางคลอดได้เมื่อทารกเคลื่อนต่ำลง หรือมดลูกหดรัดตัวถุงน้ำคร่ำอาจจะแตกหรือไม่แตกก็ได้
สาเหตุ
ส่วนนำไม่กระชับกับส่วนล่างของหนทางคลอด
สายสะดือยาวกว่าปกติ
รกเกาะต่ำทำให้สายสะดืออยู่ใกล้กับปากมดลูก
ศีรษะทารกอยู่สูง เมื่อถุงน้ำทูนหัวแตกหรือเจาะถุงน้ำทูนหัว การเจาะถุงน้ำหรือถุงน้ำแตกก่อนที่ส่วยนำจะลงสู่ช่องเชิง กราน
การทำสูติศาสตร์หัตถการ เช่น การหมุนกลับท่าทารกภายใน
ความผิดปกติอื่น ๆ ของรก เช่น velamentous cord insertion หรือ รกลอกตัวก่อนกำหนด
การวินิจฉัย
ตรวจภายใน
เห็นสายสะดือโผล่พ้นช่องคลอดออกมา
ฟังเสียงหัวใจทารกในครรภ์ผิดปกติ
อัลตราซาวด์โดยเฉพาะชนิด color Doppler จะช่วยในการวินิจฉัยชนิด forelying หรือ occult ได้ง่าย
ผลกระทบ
คลอดก่อนกำหนด
ความพิการแต่กำเนิด
birth asphyxiaภาวะขาดออกซิเจน
cerebral palsy สมองพิการ
การพยาบาล
การทำให้ส่วนนำในการคลอดอยู่สูง
1.1. Manual elevation โดยขณะตรวจภายในนั้น ให้ใช้ 2 นิ้ว (นิ้วชี้และนิ้วกลาง) ดันส่วนนำ
1.2. จัดท่าให้ผู้คลอดนอนศีรษะต่ำ ยกก้นสูง
1.3 Bladder filling โดยการใส่ Foley catheter เข้าไปในกระเพาะปัสสาวะ จากนั้นให้น้ำเข้าไป 500-750 มล. แล้ü camp สายไว้
1.4 หากเกิดภาวะสายสะดือย้อยที่บ้าน ควรแนะนำทางโทรศัพท์ให้หญิงตั้งครรภ์นั้น นอนรอในท่าคว่ำเข่าชิดอก
ให้ออกซิเจน Mask with bag 10 lit/min (100%)
ให้สายสะดือย้อยอยู่ในช่องคลอด ซึ่งอุ่นและไม่แห้ง ทำให้ลด vasospasm ได้
การให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
การตรวจติดตามการเต้นของหัวใจทารกอย่างต่อเนื่อง
Uterine inversion (ภาวะมดลูกปลิ้น)
ความหมาย ภาวะที่มดลูกปลิ้นตลับเอาผนังด้านเยื่อบุมดลูกปลิ้นกลับออกด้านนอก และโผล่พ้นช่องคลอดเกิดขึ้นภายหลังจาก
ทารกคลอด
ชนิดของภาวะมดลูกปลิ้น
มดลูกปลิ้นแบบไม่สมบูรณ์ (incomplete inversion)
มดลูกปลิ้นแบบสมบูรณ์(complete inversion)
มดลูกปลิ้นแบบสมบูรณ์เคลื่อนต่ำลงมาด้านนอกนอกปากช่องคลอด (Prolapse uterine inversion)
สาเหตุ
รกเกาะแน่น
การล้วงรก
การเพิ่มแรกดันในช่องท้อง เช่น การเบ่งคลอดรก
ทำคลอดรกผิดüิธีโดยดึงสะดืออย่างแรง
การวินิจฉัย
เลือดออกมากทางช่องคลอดภายหลังเด็กคลอดแล้ว
ตรวจภายใน พบ ผนังมดลูกด้านเยื่อบุมดลูกด้านในโผล่พ้นปากมดลูกออกมาอยู่ในช่องคลอด
มีอาการปüดที่บริเวณท้องน้อยอย่างรุนแรง
ช็อค
คลำทางหน้าท้องจะไม่พบยอดมดลูก ในรายที่มดลูกปลิ้นบางส่วน จะพบรอยบุ๋ม
การพยาบาล
แก้ไขภาวะ shock การให้สารน้ำ Colloid solutions
การประเมินสัญญาณชีพ ทุก 15 นาที จนกว่าสัญญาณชีพจะปกติ
ให้ยาระงับปวดจากมีอาการปวดที่บริเวณท้องน้อยอย่างรุนแรง ตามแผนการรักษา
สังเกตอาการ และอาการแสดงของภาวะช็อค ได้แก่ ปลายมือปลายเท้าเย็น เหงื่อออก ตัวเย็น
การให้เลือดทดแทน กรณีเสียเลือดมากตามแผนการรักษา
ใช้ผ้า sterile ชุบน้ำเกลือ 0.9 % NSS คลุมและกดผนังมดลูกที่ปลิ้น
Retain Foley’s cath เพื่อ record Intake /output เฝ้าระüังภา;ะ shock
ประสานห้องผ่าตัดเพื่อดันมดลูกที่ปลิ้นกลับเข้าที่ หลังจากแก้ไขภาวะช็อค
ภายหลังดันมดลูกที่ปลิ้นกลับเข้าที่แล้üให้ฉีดยากระตุ้นการให้มดลูกหดรัดตัüตามแผนการรักษา
ระวังการตกเลือดหลังคลอด และการปลิ้นซ้ำ
การให้ยาป้องกันการติดเชื้อ และยาพวกเหล็ก รักษาภาวะโลหิตจาง
Retained placenta(รกค้าง)
ความหมาย ภายหลังทารกคลอด โดย
การคลอดระยะที่ 3 ของการคลอด ส่วนใหญ่จะสิ้นสุดภายใน 5-10 นาที ภายหลังทารกคลอดไม่คüรเกิน 30 นาทีไม่คลอดออกมา
ชนิดของรกเกาะลึก (placenta accrete)
1) Placenta accretevilli จะฝังตัวลงไปตลอดชั้นของเยื่อบุมดลูกแต่ไม่ผ่านลงไปในชั้นของกล้ามเนื้อมดลูก
2) Placenta increta รกจะผ่านถึงชั้นกล้ามเนื้อมดลูก ในความลึกต่างกันแต่ villi ยังไม่ถึงเยื่อ serosa
3) Placenta percreta พüกนี้ villi จะกินลึกลงไปตลอดชั้นกล้ามเนื้อมดลูกจนทะลุผนังมดลูก
การวินิจฉัย
รกติดแน่น
มีเลือดออกทางช่องคลอด
ระยะเวลาของการคลอดรก 30 นาที
ผู้ป่วยมีอาการของการช็อก เช่น สัญญาณชีพเปลี่ยน ผู้คลอด หน้าซีด ใจสั่น ตัวเย็น เหงื่ออก อาการหน้ามืด
การพยาบาล
ตรวจดูอาการแสดงต่างๆของรกที่ลอกตัวสมบูรณ์
ช่วยเหลือการคลอดรกที่ยังค้างอยู่ภายในโพรงมดลูก
ถ้าตรวจดูแล้วปรากฏว่าไม่มีอาการแสดงของรกลอกตัวสมบูรณ์ ไม่ให้เคลื่อนผ่านออกมาห้ามทำ Modified crede maneuver
3.1 ตรวจการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก ถ้าไม่มีการหดรัดตัวหรือมีการหดรัดตัวแต่ไม่แข็งเต็มที่ ควรทำดังนี้
3.1.1 สวนปัสสาวะ ถ้ากระเพาะปัสสาวะเต็มเป็นเหตุให้รกไม่อาจลอกตัวได้สมบูรณ์
3.1.2 ถ้าสวนปัสสาวะแล้üมดลูกยังหดรัดตัวไม่ดีขึ้นใช้ฝ่ามือคลึงเบาๆ
3.2 ถ้าปฏิบัติดังกล่าวแล้ว รกยังไม่ลอกตัวในเวลาอันสมควร แสดงว่า
3.2.1 รกลอกตัวแล้วแต่ไม่อาจผ่าโพรงมดลูกออกมาได้
3.2.2 รกไม่สามารถลอกตัวได้ตามธรรมชาติ
3.3 ผู้ทำคลอดอาจสอดนิ้วมือเข้าไปในช่องคลอดเพื่อตรวจดูสภาพของปากมดลูก อาจลองทำคลอดรกด้วยวิธีดึงสายสะดือ แต่ถ้าลองดึงดูแล้ว
รกยังติดอยู่ ห้ามดึงต่อไปด้วยกำลังแรง เพราะสายสะดืออาจขาด หรือมดลูกปลิ้น หรือมีเศษรกค้างอยู่ภายในมดลูกได้
นางสาวศิรินทร์ทิพย์ บุตรศรี
รหัสนักศึกษา 62102301115