Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจช่องท้อง lmagination - Coggle Diagram
การตรวจช่องท้อง lmagination
การดู
การดู : สิ่งที่ควรสังเกตได้แก่
แผลเป็น
(Scars)
รอยแผลผ่าตัด หรือลายที่ผนังหน้าท้อง
(Striae)
หลอดเลือดดำที่โป่งพอง
(Superficial vein dilatation)
สะดือ มีการดึงรั้งหรือไม่ ในผู้ที่มีการอักเสบหรือไส้เลื่อน
(Umbilical hernia)
การเคลื่อนไหวของกระเพาะอาหารหรือลำไส้
(visible peristalsis)
บ่งชี้การอุดตันใน ทางเดินอาหาร
การเคลื่อนไหวของผนังหน้าท้องขณะที่ผู้ป่วยหายใจเข้าและออก
รูปร่างลักษณะของท้อง ท้องโตกว่าปกติหรือไม่
บริเวณที่นูนหรือโป่งพองเฉพาะที่
การฟัง
Bowel sound ปกติได้ยิน
6 – 12 ครั้ง/นาที
Hypoactive/hyperactive / normoactive bowel sound -Stomach Small intestine Increased / Decreased / Absent bowel sound
Vascular sound
: bruit, venous hum
การเคาะ
วิธีตรวจ
: ใช้ปลายนิ้วกลางข้างขวาเคาะเบาๆลงบนนิ้วมือซ้าย ของผู้ตรวจ ซึ่งวางแนบบนหน้าท้องผู้ป่วย โดยเคาะจากส่วนที่โปร่ง ไปยังส่วนที่เคาะทึบ เสียงปกติเรียกว่า
Abdominal tympany
1. Shifting dullness
หลักการ
: สารนํ้าจะเปลี่ยนที่ไปอยู่ส่วนที่ต่ำสุดเสมอตามแรงโน้มถ่วง เริ่มเคาะจากสะดือไปด้านข้างทั้งซ้าย
วิธีตรวจ
: ผู้ป่วยนอนหงาย เริ่มเ และขวา จนถึงแนว เส้นกลางรักแร้ในคนปกติจะเคาะได้เสียงโปร่ง ถ้ามีน้ำในช่องท้องจะได้เสียงทึบ จากนั้น ให้ผู้ป่วยพลิกตัว บริเวณที่มีสารน้ำจะ เปลี่ยนที่มาอยู่ข้างล่าง ดังนั้นบริเวณเอว ข้างบน ที่เคยเคาะทึบจะเปลี่ยนเป็น โปร่ง เพราะนํามาอยู่ข้างล่าง
2. Fluid thrill
หลักการ
: สารน้ำในช่องท้องจะเป็นตัวนำให้เกิดการสั่นสะเทือน
วิธีตรวจ
: ผู้ป่วยนอนหงาย ผู้ตรวจวางมือซ้ายขนานกับหน้าท้อง ด้านขวาของผู้ป่วย แล้วใช้มือขวาของผู้ตรวจเคาะเบา ๆ ที่ท้องด้านซ้าย ถ้ามีน้ำในช่องท้อง ผู้ตรวจจะรู้สึกถึงการสั่นสะเทือนที่ฝ่ามือซ้าย
การเคาะตับ
วิธีหาขนาดของตับ
วิธีตรวจ
: ให้เคาะในแนว MCL โดยเริ่มจากหน้าท้องด้านล่างต่ำ กว่าสะดือซึ่งมีเสียง โปร่ง ค่อย ๆ เคาะขึ้นบนจนได้ขอบล่างของตับ ซึ่งมีเสียงทึบ แล้วเคาะจากบริเวณ หน้าอกซึ่งมีเสียงโปร่ง ค่อย ๆ เคาะต่ำลงจนพบขอบบนของตับ จากนั้นจึงวัด
ความสูงของตับ (Liver span) ขนาดของตับปกติ 6 - 12 ซม. แนว MCL 4 – 8
ซม. แนว Mid-sternal line
การคลำ
Light palpation
โดยใช้ปลายนิ้วมือวางชิดกัน กดค่อย ๆ บริเวณต่างๆ และ สังเกตสีหน้าผู้ป่วย เพื่อประเมิน
Tenderness
: กดเจ็บเฉพาะที่หรือทั่วไป แสดงว่ามีพยาธิสภาพของอวัยวะ ตำแหน่งที่กดเจ็บ กดเจ็บทั่วไปในช่องท้อง เรียกว่า Generalized
tenderness Rebound tenderness
: รู้สึกเจ็บเมื่อผู้ตรวจเอามือกดลึก ๆ และปล่อยโดยเร็ว แสดงว่ามีการอักเสบของ Parietal peritoneum บริเวณนั้นเช่น Appendicitis, Peritonitis ตอนกดก็เจ็บ แต่ตอนปล่อยจะเจ็บมากกว่าตอนกด
Rigidity
: เป็นการแข็งเกร็งของกล้ามเนื้อหน้าท้อง ตลอดเวลาเมื่อถูกกด แสดงว่ามีการอักเสบที่ Parietal peritoneum แข็งเกร็งเหมือนไม้กระดาน board-like-rigidity พบใน PU perforate
Guarding หรือ Spasm
: เป็นการแข็งเกร็งของกล้ามเนื้อหน้าท้อง * ถ้าเกิดโดยไม่จงใจ แสดงว่ามีการอักเสบของ Visceral peritoneum เมื่อถูกกด บริเวณนั้น กล้ามเนื้อหน้าท้องจึงหดตัว
Murphy's sign
: Ac. Cholecystitis
Rovsing's sign & Tender at Mc Burney's point: Ac. Appendicitis
2
. Deep / bimanual palpation
ตรวจอวัยวะที่โตกว่าปกติและคลำหาก้อนในช่องท้อง
ไส้ติ่งอักเสบ (Rovsing's sign & Mc Burney's sign)
การคลำตับ
วิธีตรวจ
: ใช้มือซ้ายรองรับทางด้านหลังผู้ป่วย มือขวาวางราบบนหน้าท้อง ให้ปลาย นิ้วชี้ไปทางศีรษะผู้ป่วย งอเข่าขวาเล็กน้อย หายใจเข้า-ออกลึกๆ ช้าๆ ทางปาก คลำจากหน้าท้องด้านขวาล่าง แล้วค่อย ๆ เคลื่อนขึ้นข้างบน เข้าหาชายโครงจน นิ้วคลำพบขอบตับ บันทึกขนาดเป็น cm. / FB
การบันทึกผลเมื่อตรวจพบตับโต
ขนาด (size) วัดจากชายโครงขวา (RCM) ถึงขอบล่างของตับเป็น เซนติเมตร (cm) หรือความกว้างของนิ้วมือ (Finger breadth, FB) ผิว (surface) เรียบ(smooth) ขรุขระ (nodular) ขอบ (edge) บาง (thin) มน (blunt) คมเรียบ (sharp) ความนุ่มแข็ง (consistency) นุ่ม (soft) แน่น (firm) แข็ง (hard) การกดเจ็บ (tenderness) กดเจ็บหรือไม่
การคลิาโดยวิธีเกียว (Hooking technique)
วิธีตรวจ
: ผู้ตรวจยืนทางขวาและหันหน้าไปทางปลายเท้าผู้ป่วย ใช้นิ้วกดลงบริเวณใต้ ชายโครงขวา แล้วดึงเข้าหาชายโครง ขณะที่ผู้ป่วยหายใจเข้าลึก ๆ
การคลำม้าม
วิธีตรวจ
: ใช้มือซ้ายดันจากด้านหลังของผู้ป่วยในระดับชายโครงซ้าย มือขวาวางบนหน้าท้องให้นิ้วตั้งฉากกับชายโครงด้านซ้าย เริ่มคลำที่หน้าท้องด้านล่างซ้าย
จะคลำพบม้ามได้ เมื่อม้ามโตกว่าปกติอย่างน้อย 3 เท่า
ซึ่งพบได้ในผู้ป่วย
Portal hypertension, Polycythemia, Thalassemia
เมื่อคลำพบก้อนในท้อง ต้องบรรยายลักษณะของก้อน ดังนี้ (Size) 1. ขนาด 2. ตำแหน่ง (Location) 3. รูปร่าง (Shape) 4. ผิว (Surface) 5. ขอบ (Edge) 6. ความนุ่มแข็ง (Consistency) 7. การกดเจ็บ (Tenderness) 8. การเคลื่อนไหว (Mobility) 9. การสั่นสะเทือน (Pulsation)