Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
The working Success for the Nurses in the Ward - Coggle Diagram
The working Success for the Nurses in the Ward
Time management
เทคนิคการบริหารเวลาอย่างมีประสิทธิภาพ
3.แบ่งเวลางานและเวลาส่วนตัวให้เหมาะสม
4.จัดการงานยากให้เสร็จเสียก่อน เพราะหลังจากทำงานยากเสร็จ คุณจะรู้สึกผ่อนคลาย สบายใจ มีแรงที่จะทำงานต่อ
5.หาเวลาพัก เพื่อกระตุ้นความคิดและเพิ่มความสดชื่นให้ร่างกาย
2.เรียงลำดับตามความสำคัญ เพื่อให้รู้ตัวเองว่าแต่ละงานใช้เวลามากน้อยเท่าใด
1.ตารางเวลา การทำตารางเวลาจะช่วยให้มองออกว่าแต่ละวันเรามีเวลาเท่าไหร่ แต่ละวันมีงานอะไรต้องทำ
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารเวลา
ความหมาย
จิ๋วเจียม(2539:6) ได้ให้ ความหมายของเวลาว่า เวลาเป็น ทรัพยากรธรรมชาติ ที่มนุษย์ ได้รับมาเท่าเทียมกันสําหรับใช้ในการ ทํางาน มีหน่วยเวลานับเป็น นาทีวันชั่วโมง สัปดาห์ เดือน ปี ยกเว้นช่วงอายุขัย ซึ่งจะไม่เท่ากันเวลา เป็นทรัพยากรที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้ เวลาเป็นทรัพยากร ที่สะสมไม่ได้ เวลาเป็นทรัพยากรที่อนุรักษ์ไม่ได้ เวลาเป็นทรัพยากรที่หายืมเช่นเดียวกับเงินหรือวัสดุไม่ได้ และเกี่ยวกับการบริหารเวลา
ประโยชน์ของการบริหารเวลา
มีเวลาให้บุคคล/กิจกรรมอื่นมากขึ้น
ความเครียดลดลง สุขภาพกายและจิตดีขึ้น
ความเสี่ยงจากการทำงานลดลง
การงานมีความก้าวหน้า
การทำงานคล่องตัวมากขึ้น
Record and report
ประโยชน์ในการทำงาน
1.ตรวจสอบย้อนหลังได้
2.เป็นเอกสารสำคัญที่บ่งบอกถึงความรับผิดชอบของบุคคล
3.เป็นหลักฐานจากการกระทำของบุคคลและใช้ทางกฎหมายได้
4.ประสานงานการดูแลผู้ป่วยได้อย่างต่อเนื่อง
ลักษณะการบันทึกข้อมูลที่ดี
1.บันทึกตามความจริง ครบถ้วน ไม่เปลี่ยนแปลงข้อมูล
2.มีความชัดเจนเป็นระบบ
3.ข้อมูลโปร่งใสสามารถตรวจสอบได้
Team management
ความหมาย
Team management หรือ การ บริหาร จัดการทีมงานให้ประสบความสำเร็จ ในการเป็นผู้นำ ผู้จัดการ หรือ หัวหน้าทีม คุณจำเป็น ต้องเรียน รู้ และ มีทักษะ สำคัญ ที่จำเป็น บางอย่าง เกี่ยวกับ การ ควบคุม สอดส่องดูแล ทีมงานของคุณ เป็นโคช คอยชี้แนะ เป็น เชียร์ ลีดเดอร์ ที่คอย ให้กำลังใจ เป็นผู้รับฟัง ปัญหา เป็น ผู้ตัดสิน ชีขาด และเป็น ผู้ตัดสินใจ และคุณยังต้อง รับมือกับ ความท้าท้าย และ ความกดดัน ซึ่ง มาพร้อมด้วยความรับผิดชอบ
การบริหารทีมอย่างมีประสิทธิภาพ
Always Give feedback การให้ Feedback เป็นสิ่งสำคัญที่หัวหน้างานจำเป็นต้องทำอย่างสม่ำเสมอ เพื่อสะท้อนการทำงาน เป็นเครื่องมือหลักใน การพัฒนา หากละเลยการให้ Feedback จะส่งผลให้พลาดความต้องการปัญหา หรืออุปสรรค์ต่างๆ ที่ลูกทีมกำลังเผชิญอยู่ และจะไม่สามารถพัฒนาทีมได้อย่างตรงจุด
Build team confidence ในฐานะหัวหน้างานสิ่งสำคัญคือ การทำให้ทีมเห็นเป้าหมาย และสื่อสารเพื่อเกิดความเข้าใจร่วมกัน และแบ่งหน้าที่ ความรับผิดชอบอย่างชัดเจน พร้อมทั้งสร้างความเชื่อมั่นให้ทีมมีความมั่นใจว่าสิ่งที่กำลังดำเนินการอยู่นั้น จะนำไปสู่ผลลัพท์ที่ดีในอนาคต
Focus on solutions ในสถานการณ์คับขัน อาจเกิดปัญหาในงานมากขึ้น จึงต้องอาศัยความรวดเร็ว เร่งรีบ เพื่อจัดการให้ทันสถานการณ์ ดังนั้น โอกาสเกิดความผิดพลาดอาจมากกว่าปกติ หัวหน้าควรหาวิธีรับมือกับสิ่งที่เกิดขึ้น และแนะแนวทางการทำงานให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
Re-energize your team ในตอนเช้าก่อนเริ่มทำงาน ควรกล่าวทักทายให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของทีม และความรู้สึกสดใส ในการทำงานตลอดวัน หากมีเวลาว่างหัวหน้าควรหากิจกรรมเล็กๆ ให้คนในทีมได้ร่วมสนุก เพื่อเป็นการผ่อนคลายระหว่างการทำงาน
Encourage teamwork พยายามสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างกัน แสดงให้เห็นว่าทุกคนมีความสำคัญ และเป็นส่วนหนึ่งของทีม หากมีงานที่ต้องตัดสินใจ หัวหน้าควรรับฟังความคิดเห็นจากทุกคน และเมื่อมีการอัพเดตรายละเอียดของงานต้องแจ้งให้ผู้ที่เกี่ยวข้องรับรู้อย่างทั่วถึง
Rotate team functions เปิดโอกาสให้คนในทีมได้สลับหน้าที่ เพื่อฝึกทักษะใหม่ และเพิ่มความหลากหลายในงาน เมื่อเกิดกรณีคับขันทุกคนจะ สามารถทำงานต่อไปได้อย่างไม่ติดขัด นอกจากนี้การปรับเปลี่ยนงานจะช่วยลดความเบื่อหน่ายในงานได้อีกด้วย
อ้างอิง
บริษัท ฝึกอบรมและสัมมนาธรรมนิติ จำกัด. 21สิงหาคม 2563. “Team Management” 6 วิธีการบริหารทีมงานอย่างมีประสิทธิภาพ.
https://www.dst.co.th/index.php?option=com_content&view=article&id=3989:team-management-efficiently&catid=29&Itemid=180&lang=th
Risk management
ระดับความรุนแรงความเสี่ยง
B : Near miss ความผิดพลาดเกิดขึ้นแต่ยังไม่ถึงตัวผู้ป่วยหรือบุคลากร
C : Miss ความผิดพลาดเกิดขึ้นถึงตัวผู้ป่วยแต่ไม่ถึงอันตราย
A : Near Miss เหตุการณ์ที่มีโอกาสผิดพลาด
D : Miss ความผิดพลาดถึงผู้ป่วยและต้องให้การดูแลเฝ้าระวังเป็นพิเศษ
E : Miss ความผิดพลาดถึงตัวผู้ป่วยและเกิดอันตรายชั่วคราวแก่ผู้ป่วยและต้องได้รับการรักษาเพิ่มมากขึ้น
F : Miss ความผิดพลาดถึงผู้ป่วยและมีผลทำให้ผู้ป่วยต้องได้รับการรักษาและต้องนอนโรงพยาบาล
[G : Miss ความผิดพลาดถึงผู้ป่วยและมีผลทำให้ผู้ป่วยเกิดความพิการถาวร]
H : Miss ความผิดพลาดถึงผู้ป่วยและมีผลทำให้ผู้ป่วยได้รับการช่วยชีวิต
I : Miss ความผิดพลาดถึงผู้ป่วยและเป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยเสียชีวิต
การบริหารจัดการความเสี่ยง
ค้นหาความเสี่ยง
ประเมินและวิเคราะห์ความเสี่ยง
จัดการความเสี่ยง
ประเมินผล
ประเภทของความเสี่ยง
ความเสี่ยงทางคลิกนิกเฉพาะโรค เช่น เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากการรักษา
ความเสี่ยงทางคลินิก เช่น เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ขากการรักษาพยาบาลผู้ป่วยไม่ถูกต้อง
ความเสี่ยงทั่วไป เช่น ทรัพย์สินสูญหาย ความเสี่ยวทางสิ่งแวดล้อม เป็นต้น
การบริหารงานของหัวหน้าเวรที่มีประสิทธิภาพ
ติดตามประเมินผลดูความเรียบร้อยทั่วไป
มอบหมายงานให้แก่เข้าหน้าที่ในทุกระดับ
ดูแลความเรียบร้อยในหอผู้ป่วย
ตรวจสอบความเรียบร้อยทั่วไป
ปัจจัยที่ส่งเสริมการบริหารเวลาและการบริหารทีมให้มีประสิทธิภาพ
การมีวัตถุประสงค์ชัดเจน
ความสามาถของบุคคลากรในทีม
สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการทำงาน
การวางแผนงานที่ดี
Supervision
หลักการของการนิเทศ
ศึกษาสายงานการบังคับบัญชาของหน่วยงานเพื่อทําให้เกิดความเข้าใจในบทบาทหน้าที่
ศึกษานโยบายการดําเนินงานของหน่วยงานทําให้ผู้นิเทศทราบทิศทางการดําเนินงาน
ดําเนินการนิเทศงานการพยาบาลครบทุกขั้นตอนและเป็นไปตามลําดับโดยควรใช้ กระบวนการ 3 ขั้นตอน คือ การวางแผนงาน ดําเนินการนิเทศงานและประเมินผลการนิเทศ โดยสามารถ ยืดหยุ่นได้ตามความเหมาะสมของสถานการณ์
ยึดหลักการมีส่วนร่วมในการดําเนินงานตามขั้นตอนต่างๆ ของกระบวนการนิเทศ
ผลลัพธ์ที่ตามมา
ผู้รับนิเทศ
2)ผู้รับการนิเทศมีทักษะการพยาบาลเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากผู้ได้รับการนิเทศได้รับการฝึกปฏิบัติและการปฏิบัติให้ดูเป็นตัวอย่าง จนผู้รับการนิเทศเกิดทักษะที่เพิ่มมากขึ้น
3)ผู้รับการนิเทศมีการปฏิบัติมากขึ้น เนื่องจากมีการนิเทศ ติดตาม และผู้รับการนิเทศได้เห็นประโยชน์ของการปฏิบัติ รวมถึงการมีรูปแบบการนิเทศที่ชัดเจน
1)ผู้รับการนิเทศมีความรู้เพิ่มมากขึ้น เนื่องจากผู้รับนิเทศได้รับความรู้จากผู้นิเทศด้วยวิธีการสอน การฝึกอบรม และการให้คำแนะนำ
ต่อผู้รับบริการ
1) ผู้ใช้บริการมีความปลอดภัย เนื่องจากการนิเทศการพยาบาลมีรูปแบบที่ชัดเจน มีแนวทางในการป้องกันและแก้ปัญหาของพยาบาลได้ ทำให้อุบัติการณ์ความผิดพลาดลดลง
2) ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจสูงขึ้น เนื่องจากการนิเทศการพยาบาลที่มีรูปแบบชัดเจน มีแนวทางในการป้องกันและแก้ปัญหาที่ชัดเจน ทำให้ผู้ใช้บริการรู้สึกปลอดภัยและทำให้เกิดความพึงพอใจในบริการ
ความสำคัญ
ช่วยประสานความเข้าใจระหว่างฝ่ายผู้บริหารและฝ่ายผู้ปฏิบัติการพยาบาล ในการนิเทศทางการ พยาบาลผู้นิเทศเปรียบเสมือนบุคคลผู้อยู่ตรงกลาง
ช่วยพัฒนาบุคลากรทางการพยาบาล โดยการพัฒนาบุคลากรผู้ปฏิบัติงานและพัฒนาระบบบริการ พยาบาลให้มีมาตรฐานทางการพยาบาล
ช่วยสนับสนุนบุคลากรทางการพยาบาลให้ปฏิบัติการพยาบาลได้สําเร็จตามเป้าหมาย
Morale & Reinforcement
ข้อดี
เกื้อหนุน จูงใจให้สมาชิกในองค์กร เกิดความคิดสร้างสรรค์
ทำให้เกิดความเชื่อมั่น ศร้ทธาในองค์กรของตน
สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ
ส้รางความเข้าใจอันดีระหว่างบุคคลและนโยบายขององค์กร
เกิดความร่วมมือเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร
ข้อเสีย
2.ผู้ถูกให้กำลังใจจะรู้สึกไม่มั่นใจหากได้รับมอบหมายหน้าที่ใหม่ๆที่ไม่คุ้นเคย
3.ทำให้ผู้ถูกให้กำลังใจจะรู้สึกผิดหวังกับสิ่งต่างๆได้ง่าย เมื่อไม่มีคนให้กำลังใจอาจทำให้คนคนนั้นผิดหวังในตัวเองหรือท้อแท้ต่องานได้ง่าย
1.ผู้ถูกให้กำลังใจจะรู้สึกกดดัน เนื่องจากจะต้องทำงานให้ได้มากขึ้นและดีขึ้น
ปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างขวัญกำลังใจ
สัมพันธภาพผู้บังคับบัญชา
ปริมาณงาน
สัมพันธภาพเพื่อนร่วมงาน
สภาพในการทำงาน
ค่าจ้าง
Human relationship
ความหมาย
เทคนิคในการสร้างมนุษย์สัมพันธ์
2.มองผู้อื่น ในแง่ดี ด้วยความจริงใจ
3.ไม่ทำตัวให้เด่นจนเกินไปหรือด้อยจนเกินไป หากสิ่งใดเด่นจงถ่อมตัว สิ่งใดที่รู้ว่าด้อยจงเพิ่มให้เต็ม
1.มีความตั้งใจที่จะไม่ขัดผลประโยชน์ของผู้อื่น
4.เต็มใจรับฟังผู้อื่น
5.มีอารมณ์ขัน ร่าเริ่ง แจ่มใส่ เก็บอารมณ์เป็น