6 P
Power
Primary power
Uterine contraction ถูกกระตุ้นจากฮอร์โมน oxytocin แรงที่เกี่ยวข้องได้แก่ Interval, Duration, Intensity
-Latent phase : Interval 5-10 min, Duration 20-30 s, Intensity mild-moderate
-Active phase : Interval 2-3 min, Duration 45-60 s, Intensity moderate-strong
-Transitional phase : Interval 2 min, Duration 60-90 s, Intensity strong
พบในระยะที่ 1 และระยะที่ 2 ของการคลอด
Secondary power
ระยะที่ 1
ในระยะ Latent phase หญิงตั้งครรภ์มี I = 3' D = 40" Moderate
ในระยะ Active phase I = 3' D = 45 - 60" Strong
ในระยะ Transitional phase I = 2' D=60" strong ซึ่งเป็นไปตามทฤษฏี
ระยะที่ 2
ในระยะ Transitional phaseของหญิงตั้งครรภ์ I = 2' D=60" strong ซึ่งเป็นไปตามทฤษฏี
การที่กล้ามเนื้อมดลูกมี contration และ retraction คือ ภายหลังทารกถูกผลักดันออกไปแล้วกล้ามเนื้อ มดลูกส่วนบนจะหยุดพักการหดรัดตัวสักครู่ แล้วจะมี contration และ retraction ต่อไปเป็นระยะๆ สังเกตได้จากการที่ท้องมีก้อนกลมแข็งอยู่ตรงกลาง ซึ่งพบในระยะที่ 3 และ 4 ของการคลอด
ระยะที่ 3และ4
หญิงตั้งครรภ์มี Primary Power เกิดขึ้น เนื่องจาก มีกลไกลการรอกตัวของรก สังเกตได้จากการมี มดลูกแข็งเป็นก้อนอยู่ตรงกลาง ซึ่งเป็นไปตามทฤษฏี
ในระยะที่ 1 ของการคลอดเป็น แรงที่เกิดจากการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อหน้าท้องและกะบังลม เนื่องจากส่วนหน้าของเด็กเคลื่อนต่ำลงไปกดพื้นเชิงกราน และลำไส้ตรงทำให้มารดาเกิดความรู้สึกอยากเบ่งถ่าย อุจจาระและอยากเบ่งหาก ยิ่งรอคลอดเบ่งตั้งแต่ปากมดลูก เปิดไม่หมดหรือเปิดไม่ถึง 10 cm จะทาให้ปากมดลูกบวม เนื่องจากส่วนนาไปกดบริเวณขอบปากมดลูกที่ยังเปิดไม่หมด อาจทาให้มีการคลอดติดขัดหรือคลอดยากได้ อาการอยาก เบ่งมักเกิดขึ้น ปลายระยะที่ 1 ของการคลอดหรือในระยะที่ 2 ของการคลอด
เนื่องจากในระยะที่ 1 ของการคลอด ในระยะ Latent phaseหญิงตั้งครรภ์ยังไม่มีอาการอยากเบ่ง จึงมีการกระตุ้นให้ผู้คลอดลุกขึ้นเดิน และในระยะTransitional phase หญิงตั้งครรภ์มีความรู้สึกอยากเบ่ง เหมือนเบ่งอึ ซึ่งเป็นไปตามทฤษฏี
ในระยะที่ 2 ของการคลอด เนื่องจากส่วนนําของทารกเคลื่อนต่ำลงไปกดบริเวณพื้นเชิงกรานและทวารหนักทําให้ผู้คลอดรู้สึกอยากเบ่ง แรงนี้มีความสําคัญเพราะจะทําให้แรงดันภายในโพรง มดลูกเพิ่มขึ้นจากแรงหดรัดตัวของมดลูกเพียงอย่าง เดียวถึง 3 เท่า ส่งผลให้ทารกเคลื่อนต่ำและคลอดออกมาเมื่อเข้าสู่ระยะที่ 2 ของการคลอด ควรประเมินแรงเบ่ง ของผู้คลอด
ในขณะที่มดลูกมีการหดรัดตัวในระยะที่ 2 หญิงตั้งครรภ์รู้สึกอยาก เบ่งแต่ออกแรงเบ่งได้ไม่ถูกต้องในขนาดมดลูกมีการหดรัดตัว สังเกตได้จากการมีฝีเย็บตุง Anus บาน แต่ในขณะที่เบ่งมีฝีเย็บบานและมีการออกเสียงทางปาก ยกก้นตอนเบ่ง และในการหดรัดตัวของมดลูก 1 ครั้ง สามารถเบ่งได้ 3 ครั้ง โดยแต่ละครั้งเบ่งไม่เกิน 10 วินาที ซึ่งไม่เป็นไปตามวิธีการเบ่งที่ถูกต้อง
Passengers
น้ำคร่ำ
รก
Position
Physical condition
-Oxytocin มีฤทธิ์กระตุ้นการทํางานของกล้ามเนื้อเรียบของมดลูกและหลอดเลือดดํา ทําให้มดลูกมีการหดรัดตัวถี่และรุนแรงมากขึ้น ส่งผลให้มีความก้าวหน้าของการคลอด แต่ถ้าหากผู้คลอดได้รับออกซิโตซินมากเกินไป จะส่งผลให้มดลูกมีการหดรัดตัวมากเกินไปจนเกิดมดลูกแตก รกลอกตัวก่อนกําหนด เกิดการคลอดก่อนกำหนด
-การได้รับยาระงับปวด อาจทําให้มีอาการง่วงซึม ไม่ให้ความร่วมมือในการคลอด หรือออกแรงเบ่งไม่ดี ทําให้การคลอดล่าช้าได้
ผู้คลอดที่มีความสูงน้อยกว่า 145 เซนติเมตร มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะไม่สัมพันธ์กันระหว่างศีรษะทารกกับเชิงกรานของผู้คลอด ทำให้เกิดการคลอดติดขัด
ผู้คลอดที่มีโรคประจำตัว เช่น ความดันโลหิตสูง โรคโลหิตจาง โรคทางระบบทางเดินหายใจ จะมีผลต่อระบบทางเดินหายใจ เนื่องจากตัวนำออกซิเจนและการลำเลียงออกซิเจนไปสู่ร่างกายน้อยกว่าคนปกติ ส่งผลให้ร่างกายได้รับออกซิเจนในปริมาณที่น้อย เกิดอาการอ่อนเพลีย หน้ามืด วิงเวียนศรีษะ ทำให้ไม่มีแรงในการเบ่งคลอด ส่งผลให้มีการคลอดล่าช้า อาจต้องใช้สูติศาสตร์หัตถการในการช่วยคลอด
ผู้คลอดที่มีน้ําหนักมากกว่า 70 กิโลกรัม หรือดัชนีมวลกายมากกว่า 26 กิโลกรัมต่อเมตร2 มักจะมีความเสี่ยงต่อการคลอดยาก เนื่องจากเนื้อเยื่อบริเวณพื้นเชิงกรานหนาเกินไปทําให้การยืดขยายของกล้ามเนื้อไม่ดี อาจต้องใช้สูติศาสตร์หัตถการในการช่วยคลอด
การประสบอุบัติเหตุ
- ได้รับการกระแทกบริเวณท้อง : จากการขับขี่ยานพาหนะ การหกล้ม ซึ่งทางกายภาพผนังหน้าท้อง มดลูกและน้ำคร่ำจะช่วยลดแรงกระแทกไปสู่ทารกในครรภ์ แต่ทารกอาจได้รับผลกระทบจากรกลอกตัวก่อนกำหนด
- บาดเจ็บจากการถูกแทง : มดลูกมีการฉีกขาด ทำให้เกิดความดันโลหิตต่ำ ชีพจรเต้นเร็ว ทารกมี FHS เร็วเนื่องจากขาดเลือด เกิดภาวะ Fetal distress ทารกเสียชีวิตในครรภ์ รกลอกตัวก่อนกำหนด
• ผู้คลอดที่มีอายุน้อยกว่า 17 ปี การเจริญเติบโตของกระดูกเชิงกรานยังไม่เต็มที่ เสี่ยงต่อการเกิดภาวะ ส่วนนําและเชิงกรานไม่ได้สัดส่วน
• ผู้คลอดที่มีอายุมากกว่า 35 ปี พื้นเชิงกรานหย่อน และขยายได้น้อย ทําให้ส่วนนําของทารกเคลื่อนลงต่ำได้ช้า ส่งผลให้ระยะที่ 1 และ 2 ยาวนานกว่าปกติ ซึ่งทําให้เพิ่มอุบัติการณ์ของการช่วยคลอด สูติศาสตร์หัตถการ เช่น การช่วยคลอดด้วยเครื่องดูดสุญญากาศ การใช้คีมช่วยคลอด และการผ่าตัดคลอดทางหน้า ท้อง
Case ผู้คลอดอายุ 24 ปี ซึ่งเหมาะสมต่อการคลอดเนื่องจากมีการเจริญของช่องเชิงกรานได้สมบูรณ์ ส่วนนำของทารกและเชิงกรานสมส่วน ไม่เกิดการคลอดติดขาดและพื้นเชิงกรานไม่หย่อน ทารกสามารถคลอดออกมาได้
อายุ
น้ำหนัก
ส่วนสูง
Case ผู้คลอดมีน้ำหนัก 65 กิโลกรัม BMI = 24.17 km/m2 ซึ่งเหมาะสมต่อการคลอด เนื่องจากมีน้ำหนักตัวเหมาะสมตามเกณฑ์ปกติ ไม่มีน้ำหนักเกิน และกล้ามเนื้อเชิงกรานไม่หนา ทำให้มีการยืดขยายของกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานได้ดี ส่งผลให้ทารกสามารถคลอดออกมาได้
Case ผู้คลอดสูง 164 cm. ซึ่งมีความเหมาะสมต่อการคลอด เนื่องจากผู้คลอดมีส่วนสูงไม่ต่ำกว่าเกณฑ์ และขนาดศีรษะของทารกมีความสัมพันธ์กับช่องเชิงกราน ทำให้ทารกสามารถคลอดออกมาได้
การได้รับยา
Case ผู้คลอดไม่มีโรคประจำตัวจึงไม่มีความเสี่ยงต่อการคลอด
โรคประจำตัว
Case ผู้คลอดได้รับ 5%DN/2 1000 ml + syntocinon 10 unit IV drip 12 cc/hr เมื่อเวลา 09.30 ซึ่งหลังจากได้รับยา 20 นาที มดลูกมีการหดรัดตัวมากขึ้น ส่งผลให้รู้สึกปวดเบ่งมาก
อุบัติเหตุ
ระยะที่ 1
ทฤษฎี
ท่าของผู้คลอดมีอิทธิพลต่อความถี่และการหดรัดตัว ของมดลูก ท่าที่มีประสิทธิภาพที่สุด คือ ท่าในแนวดิ่ง (Upright) ตามแรงโน้มถาวงของโลกช่วยเสริมการ เคลื่อนต่ำของส่วนนำ ระยะเวลาการคลอดลดลง ท่า นอนหงายส่งผลให้ความก้าวหน้าของการคลอดล่าช้า กว่าท่าอื่น
ทารก
Lie
1.Longitudinal lie สันหลังเด็กจะขนานกับสันหลังสตรีตังครรภ์โดยเอาหัวลงหรือก้นลงก็ได้
- Transverse lie ลำตัวหรือสันหลังเด็กจะอยู่แนวขวางกับความยาวของโพรงมดลูกหรือสันหลังสตรีตั้งครรภ์ โดยเด็กจะเอาไหล่ลงมา
ทารกมีแนวลำตัว Longitudinal lie จากการสังเกตหน้าท้องผู้คลอดเป็น Ovoid shape วงรีแนวตั้ง ถือเป็นท่าที่ปกติ พร้อมเข้าสู่กระบวนการคลอด
หญิงตั้งครรรภ์นอนในท่าศรีษะสูง 45 องศา และลุกเดินไปเข้าห้องน้าเพื่อส่งเสริมการเคลื่อนต่ำของส่วนนำ
Presentation (ส่วนนำ) คือ ส่วนที่ต่ำสุดของเด็ก ที่อยู่ส่วนล่างของมดลูก
Vertex presentation
ประเมินจากการตรวจครรภ์ท่าที่ 3 pawlik grip และท่าที่ 4 bilateral grip
ระยะที่ 2และระยะที่ 3
ขนาดของศีรษะ
ประเมินจากการตรวจครรภ์ท่า bilateral grip ถ้าหากขนาดศีรษะที่ใหญ่ จะไม่สามารถ engagement ได้
1.Dorsal recumbent:ท่านอนหงายแยกขา
2.Lateral position , Sim’ left lateral position:ท่านอนตะแคง
3.Lithotomy position:ท่านอนหงายยกขาทั้งสองข้างวางบนที่รองขา
การประเมินขนาดศีรษะทารก จากการตรวจครรภ์ท่าที่ 3 pawlik grip และท่าที่ 4 bilateral grip พบhead engagement ขนาดศีรษะทารกไม่ใหญ่ เนื่องจากสามารถ engagement ได้
Position (ท่าของเด็ก) คือ ความสัมพันธ์ระหว่าง denominator กับส่วนของช่องเชิงกรานของแม่ ถ้า denominator ไปอยู่ส่วนใดของช่องเชิงกรานก็ เรียกว่า เด็กอยู่ในท่านั้น
กลไกการคลอด
Engagement ส่วนที่กว้างที่สุดของส่วนนำผ่านเข้าสู่ pelvic inlet
ทารกปรับตัวคือ molding และ Asynclitism
Descent การเคลื่อนต่ำของทารกในครรภ์ เกิดจากแรง
- Hydrostatic pressure
- Fetal axis pressure
- Abdominal pressure
Flexion การก้มของศีรษะทารก เกิดจาก
1.Fetal axis pressure
2.ลักษณะช่องเชิงกราน
3.แรงบีบจากผนังช่องทางคลอด
4.Resisting force
จากการ PV หากพบ small fontanalle
ต่ำมากเท่าใด ทารกมีการ flexion มากเท่านั้น
Internal rotation การหมุนของศีรษะทารกภายในช่องเชิงกราน
Extension การเกิดของศีรษะทารก
Restitution การหมุนศีรษะภายนอกเชิงกราน
เพื่อให้ท้ายทอยสัมพันธ์กับไหล่
External rotation การหมุนภายนอกของศีรษะ
Explusion การเกิดของลำตัวและแขนขา
เมื่อระยะที่ 1 ของการ
คลอด จากการตรวจครรภ์ท่าที่ 3 ไม่
พบ ballottement และท่าที่4 ปลายมือ
ไม่สามารถสอบเข้าหากันได้ จากการ
PV พบว่าส่วนนำอยู่ที่ station 0
แสดงว่า Head engagement แล้ว)
การเคลื่อนต่ำเกิดขึ้นตั้งแต่ระยะที่ 1 เมื่อมดลูกเริ่มมีการหดรัดตัว แรงดันจากน้ำคร่ำ จากตำแหน่งการฟังFHS เคลื่อนต่ำลงมาเรื่อยๆ พบ Gaping valva crowning ผู้คลอดมีความเจ็บปวด PS 10 มีความรู้สึกอยากเบ่ง
จากการ PV คลำได้ small fontanalle เคลื่อนต่ำลงมา
ศีรษะทารกหมุนทวนเข็มนาฬิกา 45 องศา
พบว่า sagittal suture อยู่ในแนว AP
ศีรษะทารกคลอดออกมา sagittal sutureอยู่ในแนว AP diameter
ศีรษะทารกหมุนตามเข็มนาฬิกา 45 องศา
หมุนศีรษะทารกตามเข็มนาฬิกาอีก 45 องศา เพื่อให้ศีรษะตั้งฉากกับ
ไหล่ sagittal suture อยู่ในแนว Transverse
ช่วยทำคลอดไหล่หน้า ไหล่หลัง และลำตัว ทารกคลอดสมบูรณ์เวลา 10.30 น.
มีโอกาสเกิด fetal distress เนื่องจากกล้ามเนื้อมดลูกหดรัดตัว
มีโอกาสเกิดการคลอดล่าช้าเนื่องจากเบ่งคลอดไม่ถูกวิธี
จากการประเมิน PV พบส่วนยอดของศีรษะอยู่ต่ำที่สุด ส่วนนำคือ vertex แสดงว่าทารกอยู่ในท่าที่เหมาะสมกับการคลอดตามทฤษฎี
Passage
Bony
Soft
ลักษณะทั่วไป
การตรวจ
อายุ
ส่วนสูง
ท่าทาง
อุบัติเหตุ
Pelvic inlet
Pelvic outlet
Pelvic cavity
ปากมดลูก
ช่องคลอด
อุ้งเชิงกราน
ฝีเย็บ
กระเพาะปัสสาวะ
Psychological condition
ความวิตกกังวล ความเครียด ความหวาดกลัวในการคลอดจะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา โดยจะมีการกระตุ้นระบบประสาท sympathetic ให้หลั่งสาร Catecholamine และ epinephrine ทำให้สรีรวิทยาของร่างกายเปลี่ยนแปลง เช่น หลอดเลือดทั่วร่างกายตีบ เลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายน้อยลง เซลล์ร่างกายต้องการออกซิเจนเพิ่มขึ้น เลือดนำออกซิเจนไปสู่สมองเเละกล้ามเนื้อลดลง กล้ามเนื้อมดลูกขาดออกซิเจน ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดการหดรัดตัวอย่างผิดปกติ การทำงานของมดลูกจะลดลง ทำให้มดลูกหดรัดตัวได้ไม่ดี ปากมดลูกจึงเปิดช้า เเละยังมีอิทธิพลจากปัจจัยอื่นๆ เช่น การขาดความรู้ ความเจ็บปวด ซึ่งเป็นเหตุทำให้เกิดการคลอดที่ล่าช้า
ระยะที่ 2 ผู้คลอดมีความกลัว มีการเผชิญกับความเจ็บปวด
ระยะที่ 3 ผู้คลอดคลายกังวล เนื่องจากได้เห็นใบหน้าของลูก
ระยะที่ 1 ผู้คลอดมีความวิตกกังวล ขาดความรู้ในการปฏิบัติตัวในระยะรอคลอด เเละขาดความรู้ในการเบ่งคลอดที่ถูกวิธี เนื่องจากผู้คลอดไม่เคยมีประสบการณ์ในการคลอดบุตรมาก่อน
กรณีศึกษา
ทฤษฎี
อายุต้องมากกว่า 17 ปีขึ้นไป หากอายุน้อยกว่า 17 ปี กระดูกเชิงกรานยังเจริญไม่เต็มที่
ผู้คลอดอายุ 24 ปี เป็นไปตามทฤษฎี
ทฤษฎี
กรณีศึกษา
ส่วนสูงต้องมากกว่า 145 เซนติเมตรขึ้นไป หากส่วนสูงน้อยกว่า 145 เซนติเมตร จะมีความสัมพันธ์กับขนาดของเชิงกรานที่แคบ
ปริมาณของน้ำคร่ำ หากมีปริมาณมาก HF>36cm ฟัง FHS ไม่ชัดเจน คลำเจอ fluid มาก หากมีปริมาณน้อย HF<32cm คลำเจอสิ่งต่างๆของทารกชัดเจน
จากการตรวจครรภ์ ท่าที่ 1 Fundal grip พบ high of fundus 34 cm สามารถฟัง FHSได้ชัดเจน แสดงว่าทารกมีปริมาณน้ำคร่ำที่ปกติ เป็นไปตามทฤษฎี
Case ผู้คลอดไม่เคยประสบอุบัติเหตุขณะตั้งครรภ์ จึงไม่มีความเสี่ยงมารดาและทารก
จากการตรวจครรภ์ท่าที่ 2 umbilical grip พบ large part อยู่ด้านซ้าย และ small part อยู่ด้านขวาท่ารกอยู่ในท่า LOA
ระยะที่ 1 และ 2
ภาวะรกเกาะต่ำจะพบส่วนนำของทารกผิดปกติ เช่น ส่วนนำเป็นก้น ทารกอยู่แนวขวาง (transverse lie) แนวเฉียง เป็นต้น ในกรณีศีรษะ เป็นส่วนนำ จะตรวจพบศีรษะลอยอยู่สูงไม่เข้าสู่อุ้งเชิงกราน
การประเมินศีรษะทารก จากการตรวจครรภ์ท่าที่3 Pawlik grip และท่าที่4 Bilateral grip ส่วนนำ คือศีรษะ พบว่า Head Engagement แสดงว่า ซึ่งสัมพันธ์กับทฤษฎีเเสดงว่าไม่พบภาวะรกเกาะต่ำ
ระยะที่ 3
1.Uterine sign
สังเกตเห็นว่ามีลอนทางหน้าท้องจะคลำได้
มดลูกส่วนบนกลมแข็ง และเอียงไปข้างขวา เปลี่ยนจากรูป discoid เป็น globular
2.vulva sign : สังเกตพบว่ามีเลือดออกทางช่องคลอดประมาณ 50 cc
- Cord sign : ดูการเคลื่อนเคลื่อนของสาย
สะดือเมื่อรกลอกตัวหมดแล้วสายสะดือจะเหี่ยว เกลียวจะคลาย คลำชีพจรไม่พบ
1.Uterine sign คลำได้มดลูกส่วนบนกลมแข็ง และเอียงไปข้างขวา
2.vulva sign : สำหรับกรณีศึกษามีการลอกตัวแบบ Schultze mechanism รกจะเริ่มลอกบริเวณตรงกลางก่อน จึงพบ vulva sign หลังรกหลุดออกมาแล้ว
- Cord sign : จากการตรวจสายสะดือจะเหี่ยวคลายเกลียว และคลำชีพจรไม่ได้ ทดสอบ (Cord test) โดยใช้มือกดบริเวณเหนือกระดูก
หัวเหน่าและโกยมดลูกขึ้นไปข้างบนสายสะดือไม่เคลื่อนตาม แสดงว่ารกลอกตัวและลงมาอยู่ ส่วนล่างของมดลูกแล้ว
มีความวิตกกังวล เนื่องจากพร่องความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวในระยะรอคลอดเเละการเบ่งคลอด
ขนาดตัวของทารก
ขนาดตัวทารก หากhigh of fundus มากกว่า 36 cm หรือ3|4 แสดงว่ามีขนาดตัวโตกว่าเกณฑ์ หากน้อยกว่า 32 cm หรือ 2|4 แสดงว่ามีขนาดตัวเล็กกว่าเกณฑ์
จากการตรวจครรภ์ ท่าที่ 1 Fundal grip พบ high of fundus 34 cm แสดงว่าทารกมีขนาดตามเกณฑ์ปกติ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
1.ทารกมีโอกาสเกิดภาวะอุณหภูมิร่างกายต่ำกว่าปกติเนื่องจากมีการสูญเสียความร้อนออกจากร่างกาย
2.ทารกในครรภ์เสี่ยงต่อการเกิดภาวะ fetal distress
ผู้คลอดส่วนสูง 151 เซนติเมตร เป็นไปตามทฤษฎี
ทฤษฎี
กรณีศึกษา
กระเพาะปัสสาวะต้องว่าง หากพบว่ากระเพาะปัสสาวะเต็ม จะทำให้ไปเบียดช่องทางคลอดให้แคบลง
ทฤษฎี
กรณีศึกษา
วัดตั้งแต่ Promonnary of sacrum ถึงขอบล่าง Symphysis pubis ยาว 12.5-13 เซนติเมตร หากศีรษะทารกไม่สามารถเคลื่อนผ่านไปสู่ Pelvic cavity ได้ แสดงว่า มี unengagement ทำให้การคลอดติดขัด
ทฤษฎี
วัดตั้งแต่ Symphysis pubis ถึง coccyx ยาว 11.5 เซนติเมตร และมุมของ Pelvic arch น้อยกว่า 85 องศา จะทำให้ศีรษะทารกก้มต่ำลงไปติดเชิงกรานส่วนล่าง
กรณีศึกษา
ทฤษฎี
กรณีศึกษา
ทฤษฎี
กรณีศึกษา
ทฤษฎี
กรณีศึกษา
สำหรับหญิงตั้งครรภ์รายนี้นอนในท่า lithotomy position คือท่านอนหงายและยกข้างทั้งสองข้างวางบนที่รองขาพร้อมทั้งแยกขาออกกว้างง่ายต่อการ Extention ออกมา
ไม่สุขสบายเนื่องจากกล้ามเนื้อมดลูกหดรัดตัว
ทฤษฎี
Latent phase (0-3 เซนติเมตร)
-ครรภ์แรก 0.3 เซนติเมตร/ชั่วโมง
-ครรภ์หลัง 0.5 เซนติเมตร/ชั่วโมง
กรณีศึกษา
ทฤษฎี
กรณีศึกษา
ทฤษฎี
กรณีศึกษา
ผู้คลอดกระเพาะปัสสาวะว่าง
Active phase (4-10 เซนติเมตร)
-ครรภ์แรก 1.2 เซนติเมตร/ชั่วโมง
-ครรภ์หลัง 1.5 เซนติเมตร/ชั่วโมง
Acceleration (3-4 เซนติเมตร)
-ครรภ์แรก ใช้เวลา 2 ชั่วโมง
-ครรภ์หลัง ใช้เวลา 1 ชั่วโมง
Phase of maximum (4-7เซนติเมตร)
-ครรภ์แรก ใช้เวลา 2 ชั่วโมง
-ครรภ์หลัง ใช้เวลา 1 ชั่วโมง
Deceleration (8-10เซนติเมตร)
-ครรภ์แรก ใช้เวลา 1 ชั่วโมง
-ครรภ์หลัง ใช้เวลา 30 นาที
-ครรภ์แรก ใช้เวลา 5 ชั่วโมง
-ครรภ์หลัง ใช้เวลา 2 ชั่วโมง 30 นาที
-ครรภ์แรก ใช้เวลา 8 ชั่วโมง
-ครรภ์หลัง ใช้เวลา 5 ชั่วโมง
วัดจาก Ischial spines 2 ข้าง ห่างกัน 10.5 เซนติเมตร
Latent phase
Active phase
01.00 น. เจ็บครรภ์คลอด
02.00 น. Cx 2 cm 25% -1 MI
ใช้เวลา 1 ชั่วโมง เป็นไปตามทฤษฎี
06.00 น. Cx 5 cm 100% 0 MI
08.00 น. Cx 7 cm 100% 0 MI
08.50 น. Cx 7 cm 100% 0 AMR
09.50 น. Cx 9 cm 100% 0 MR
10.05 น. Cx 10 cm 100% 0 MR
ใช้เวลา 4 ชั่วโมง เป็นไปตามทฤษฎี
อายุต้องน้อยกว่า 35 ปี หากอายุ > 35 ปี เชิงกรานจะแข็ง ทำให้ยืดขยายไม่ดี
ผู้คลอดอายุ 24 ปี น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ 55 กิโลกรัม BMI 20.45 kg/m2 และ เป็น G1 P0 กล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานจะยืดขยายไม่ดี อาจทำให้เกิดการคลอดล่าช้า
เนื่องจากไม่ได้วัด แต่ทารกสามารถคลอดได้ แสดงว่า ศีรษะทารกสามารถผ่าน Pelvic inlet ได้
เนื่องจากไม่ได้วัด แต่ทารกสามารถคลอดได้ แสดงว่า ศีรษะทารกสามารถผ่าน Pelvic cavity ได้
เนื่องจากไม่ได้วัด แต่ทารกสามารถคลอดได้ แสดงว่า ศีรษะทารกสามารถผ่าน Pelvic outlet ได้
การผ่านการคลอดบุตรมาหลายคน จะมีความหย่อนตัวเพิ่มมากขึ้น
การผ่านการคลอดบุตรมาหลายคน จะทำให้ช่องคลอดขยายเพิ่มขึ้น ทำให้ใช้เวลาในการน้อย
ผู้คลอดเป็น G1 P0 ช่องคลอดจะยืดขยายไม่ดี อาจทำให้เกิดการคลอดล่าช้า
ระยะที่ 1
ทฤษฎี
กรณีศึกษา
การเคยผ่านการตัดฝีเย็บ จะทำให้พื้นเชิงกรานหนา ฝีเย็บยืดขยายไม่ดีเท่าที่ควร ทำให้ระยะที่ 2 ของการคลอดไม่ดี
การมี varicose vein ฝี หูด บริเวณฝีเย็บ จะทำให้ไม่สามารถตัดฝีเย็บได้
ผู้คลอดเป็น G1 P0 และจากการสังเกตไม่พบฝี หูดและพังผืดบริเวณฝีเย็บ
ผู้คลอดจะเดินไปเข้าห้องน้ำเอง และนอนศีรษะสูง ทำให้ทารกมีการเคลื่อนต่ำลงผ่านเร็วมากขึ้น ทำให้เกิดการคลอดที่เร็วขึ้น
ผู้คลอดไม่เคยประสบอุบัติเหตุเกี่ยวกับกระดูกเชิงกราน
มีโอกาสเกิดอุบัติเหตุ เนื่องจากมีอาการอ่อนเพลียจากการสูญเสียพลังงานจากการเบ่งคลอด และสูญเสียเลือดจากการคลอด
การที่เชิงกรานแตกร้าว จากการประสบอุบัติ เป็นสาเหตุที่ทำให้ Pelvic inlet แคบ
การจัดท่าที่มารดาให้อยู่ตามแนวแรงโน้มถ่วงของโลก จะทำให้ทารกสามารถเคลื่อนต่ำลงมาตามแรงโน้มถ่วงของโลกได้
น้ำหนัก
ระยะที่ 2
ทฤษฎี
กรณีศึกษา