Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พรบ การศึกษาแห่งชาติ พ ศ 2542, 654151010 ธฤษวรรณ จำปีพันธุ์ - Coggle…
พรบ การศึกษาแห่งชาติ พ ศ 2542
หมวด 1 บททั่วไป-ความมุ่งหมายและหลักการ
มาตรา 7
ปลูกจิตสำนึกระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รู้จักรักษา และส่งเสริมสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มีความภูมิใจในความเป็นไทยรักษาประโยชน์ส่วนรวมของประเทศ
มาตรา 9
การจัดระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษา
มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษา มีการประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับทุกประเภท
ระดมทรัพยากรจากแหล่งต่างๆ มาใช้ในการจัดการศึกษา
มีหลักการส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครู คณาจารย์ ปละบุคลากรทางการศึกษา และการพัฒนาครู
มีเอกภาพด้านนโยบาย และหลากหลายในทางปฏิบัติ
การมีส่วนร่วมของบุคลล ชุมชน องค์กรชุมชน
กระจายอำนาจไปที่เขตการศึกษา สถานศึกษา องค์กรปกครองท้องถิ่น
มาตรา 8
การจัดการศึกษาให้ยึดหลัก
ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน
มาตรา 6
การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ
สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
มาตรา 14
บุคค/ครอบครัว/ชุมชน/องค์กรชุมชน/องค์กรเอกชน/องค์กรวิชาชีพ/สถาบันศาสนา/สถานประกอบการ ที่สนับสนุนการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์
การสนับสนุนจากรัฐให้มีความรู้ความสามารถเลี้ยงดูอบรมเด็กในความรับผิดชอบ
เงินอุดหนุนในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การลดหย่อนภาษี/ยกเว้นภาษี สำหรับค่าใช้จ่ายในการศึกษา
มาตร 13
บิดา/มารดา/ผู้ปกครอง มีสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์
เงินอุดหนุนสำหรับจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การลดหย่อนภาษี/ยกเว้นภาษี สำหรับค่าใช้จ่ายในการศึกษา
การสนับสนุนจากรัฐให้มีความรู้ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดู-ให้การศึกษาเด็ก
มาตรา 11
บิดา/มารดา/ผู้ปกครอง มีหน้าที่จัดให้เด็กได้รับการศึกษาภาคบังคับตามมาตร 17 และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
มาตรา 12
นอกเหนือรัฐ-เอกชน-องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้บุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน และสถาบันอื่นๆ มีสิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน(เป็นไปตามกฎกระทรวง)
มาตรา 10
ทุกคนมีสิทธิและโอกาศเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไม่น้อยกว่า 12 ปี ที่รัฐต้องจัดให้ทั่งถึง
ผู้บกพร่องทางร่างกาย/จิตใจ/สติปัญญา/อารมณ์/ สังคม/การสื่อสาร/การเรียนรู้/พิการ/ทุพพลภาพ/ด้อยโอกาศ
คนพิการต้องจัดให้ตั้งแต่แรกเกิดหรือตั้งแต่พบความพิการโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
บุคคคลที่มีความสามารถพิเศษต้องจัดให้มีความเหมาะสมตามความสามารถ
หมวด 3 ระบบการศึกษา
มาตรา 15 การจัดการศึกษา
นอกระบบ
มีความยืดหยุ่นในการกำหนดจุดหมาย/รูปแบบวิธีการศึกษา/ระยะเวลาการศึกษา
ตามอัธยาศัย
ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจ/ศักยภาพ/ความพร้อม/ประสบการณ์/สังคม
ในระบบ
กำหนดจุดมุ่งหมาย/วิธีการศึกษา/หลักสูตร/ระยะเวลาการศึกษา/วัดและประเมินผล
มาตรา 17
ให้เด็กอายุย่างเข้า 7 ปีเข้าเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจนอายุย่างเข้าปีที่ 16
มาตรา 17
การศึกษาภาคบังคับจำนวน 9 ปี ให้เด็กอายุย่างเข้า 7 ปีเข้าเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจนอายุย่างเข้าปีที่ 16
มาตรา 18
จัดการศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
ศูนย์เด็กเล็ก/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์ของสถาบันศาสนา
ศูนย์การเรียน
สถานที่เรียนที่หน่วยงานจัดการศึกนอกโรงเรียน/บุคคล/ครอบครัว/ชุมชน
โรงเรียน
โรงเรียนรัฐ-เอกชน/โรงเรียนสังกัดสถาบันพุทธศาสนา-ศาสนาอื่น
มาตรา 19
การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา
วิทยาลัย
มหาวิทยาลัย
หน่วยงานชื่อเรียกอื่น
สถาบัน
มาตรา 20
การจัดการอาชีวศึกษา/การฝึกอบรมวิชาชีพ ให้จัดในสถานศึกษาของรัฐ-เอกชน-สถานประกอบการ
มาตรา 21
กระทรวง/กรม/รัฐวิสาหกิจ/หน่วยงานอื่นของรัฐ
หมวด 4 แนวการจัดการสอน
มาตรา 22
การศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนสำคัญที่สุด
มาตรา 23
การจัดการศึกษาต้องบูรณาตาความเหมาะสม
ความรู้เกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญาไทย
ความรู้/ทักษะด้านคณิตศาสตร์ ด้านภาษา
ความรู้/ทักษะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความรู้/ทักษะในการประกอบอาชีพและการดำรงชีวิต
ความรู้เกี่ยวกับตนเอง
มาตรา 24
สถานศึกษา/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการจัดการเรียนรู้
จัดให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดยคำนำถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
ฝึกทักษะ/กระบวนการคิด/การจัดการ/เผชิญสถานการณ์
จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเรียนรู้จากประสบการณ์จริง
จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานความรู้ต่างๆ ได้เป็นสัดส่วนสมดุลกัน
จัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม สื่อการเรียนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลามีการประสานความร่วมมือกับผู้ปกครองและชุมชน
มาตรา 25
รัฐต้องจัดตั้งแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบบ
ห้องสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ์ หอศิลป์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ
มาตรา 26
ประเมินผู้เรียน พิจารณาจาก
พัฒนาการผู้เรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรม การทดสอบควบคู่กันไปในกระบวนการเรียนการสอน
มาตรา 27
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดหลักสูตรแกนกลาง
มาตรา 28
สาระของหลักสูตรเป็นวิชาการ และวิชาชีพ
มุ่งพัฒนาคนให้มีความสมดุลทั้งด้านความรู้/ความคิด/ความสามารถ/ความดีงาม/ความรับผิดชอบต่อสังคม
หลักสูตรการศึกษามาระดับอุดมศึกษา
มีความมุ่งหมายเฉพาะที่จะพัฒนาวิชาการ/วิชาชีพชั้นสูง/การค้นคว้าวิจัย เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และพัฒนาสังคม
มาตรา 29
ส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชนโดยจัดกระบวนการเรียนรู้ภายในชุมชน
มาตรา 30
พัฒนากระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ
การส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู่ที่เหมาะสมกับผู้เรียน
หมวด 5 การบริหารและการจัดการศึกษา
ส่วนที่ 1 การบริหารการจัดการศึกษาของรัฐ
มาตรา 31
กระทรวงมีอำนาจหน้าที่
ส่งเสริม/กำกับ/ดูแลการศึกษาทุกระดับทุกประเภทและการอาชีวศึกษา
*ไม่รวมการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่อยู่ในอำนาจของกระทรวงศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
มาตรา 32
การบริหารกระทรวง ให้มีองค์กรหลักที่เป็นคณะบุคคลในรูปสภา
สภาการศึกษา
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คณะกรรมการอาชีวศึกษา
มาตรา 32/1
การจัดระเบียบอว ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น
มาตรา 32/1
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(อว ) มีอำนาจส่งเสริม/สนับสนุน/กำกกับการอุดมศึกษา-วิทยาศาสตร์-การวิจัย/สร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อให้การพัฒนาประเทศเท่าทันการเปลี่ยนแปลงของโลก
มาตรา 35
องค์ประกอบของคณะกรรมการ
กรรมการโดยตำแหน่งจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผู้แทนองค์กรชุมชน
ผู้แทนองค์กรวิชาชีพ
ผู้ทรงคุณวุฒิ(จำนวนไม่น้อยกว่ากรรมการประเภทอื่นรวมกัน)
ผู้แทนองค์กรส่วนท้องถิ่น
มาตรา 33
สภาการศึกษามีหน้าที่
เสนอแผนการศึกษาแห่งชาติที่บูรณาการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และกีฬา
เสนอนโยบาย/แผน/มาตรฐานการศึกษา
เสนอนโยบายและแผนในการสนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา
ดำเนินการประเมินผลการจัดการศึกษาตามแผนการศึกษาแห่งชาติ
ให้ความเห็น/คำแนะนำเกี่ยวกับกฎหมาย-กฎกระทรวง
มาตรา 34
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าที่
สนับสนุนทรัพยากร/ติดตาม/ตรวจสอบ/ประเมินผลการจัดการศึกษา
เสนอนโยบาย/แผนพัฒนามาตรฐาน/หลักสูตรแกนกลาง
มาตรา 36
ให้สถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาเป็นนิติบุคคล ยกเว้นสถานศึกษาเฉพาะทางตามมาตรา 21
มาตรา 37
การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ยึดเขตพื้นที่การศึกษาโดยคำนึงถึง/ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน /จำนวนสถานศึกษา /จำนวนประชากร /วัฒนธรรม /ความเหมาะสมด้านอื่น
มาตรา 38
มาตราดังกล่าวนี้ ปัจจุบันคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาถูกยุบโดยคำสั่งหัวหน้าคสช ที่ 10/2559 และโอนอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาไปเป็นของกศจ. จังหวัดนั้นๆแทน
มาตรา 40
ให้มีคณะกรรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน-สถานศึกษาอุดมศึกษาระดับต่ำกว่าปริญญา-สถานศึกษาอาชีวศึกษา ในแต่ละสถานศึกษาทำหน้าที่กำกับส่งเสริม/สนับสนุนกิจการสถานศึกษา
มาตรา 39
กระทรวงกระจายอำนาจการบริหาร/การจัดการศึกษา ด้านวิชาการ/งบประมาณ/งานบุคคล/งานทั่วไป ไปยังสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาในเขตพื้นที่ฯโดยตรง
ส่วนที่ 2 การบริหารและการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
มาตรา 41
องค์กรปกรองส่วนท้องถิ่นมีสิทธิจัดการศึกษาระดับใดระดับหนึ่งหรือทุกระดับ
มาตรา 42
กระทรวงกำหนดเกณฑ์/วิธีการประเมินความพร้อมในการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ส่วนที่ 3 การบริหารและจัดการศึกษาของเอกชน
มาตรา 43
การบริหาร/การจัดการศึกษาของเอกชนให้มีความอิสระ และต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเช่นเดียวกับของรัฐ
มาตรา 44
สถานศึกษาเอกชน เป็นนิติบุคคล และมีคณะกรรมการบริหาร
มาตรา 45
สถานศึกษาเอกชนจัดการศึกษาได้ทุกระดับทุกประเภทตามที่กฎหมายกำหนด
มาตรา 46
รัฐต้องสนับสนุนด้านเงินทุน/การลดหย่อน-ยกเว้นภาษี/สิทธิประโยชน์อื่นที่เป็นประโยชน์แก่สถานศึกษาเอกชน
654151010 ธฤษวรรณ จำปีพันธุ์