Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างเสรมิภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก - Coggle Diagram
การสร้างเสรมิภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก
วิธีการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
active immunization ทางตรงหรือให้วัคซีนกระตุ้น
passive immunization ทางอ้อมหรือการรับเอา
ชนิดของวัครซีน
Toxoid
exotoxin
Inactivated หรือ killedvaccine
เชื้อตาย
IPV, JE, Rabies
เชื้อเป็น
Pa,HAV,Hib
Live attenuated vaccine
OPV, MMR, BCG
ส่วนประกอบวัคซีน
ของเหลวสำหรับแขวนตะกอน (suspending fluid)
สารกันเสีย (preservative) สารเพิ่มความคงตัว (stabilizer) และยาปฏิชีวนะ (antibiotic)
สารเสริมฤทธิ์ (adjuvant)
วิธีการให้วัคซีน
oral route
intradermal หรือ intra cutaneous route
subcutaneous route
intramuscular route
พ่นเข้าทางจมูก
หลักการทั่วไปในการให้วัคซีน
มีไข้ เลื่อนฉีดจนกว่าไข้จะหาย
ให้วัคซีนช้ากว่ากำหนดได้
วัคซีนเชื้อตายให้พร้อมกันได้ แต่คนละตำแหน่ง
ได้รับเลือด//ผลิตภัณฑ์จากเลือด <3 เดือน ต้องเลื่อนไปอย่างน้อย 5-11 เดือน ได้รับวัคซีนเชื้อเป็น <2 wk ต้องฉีดซ้ำอีกใน 3 เดือน
สเตียรอยด์ >2 mg/Kg/d ให้วัคซีนเขื้อเป็น หยุดยาอย่างน้อย 1 เดือน ได้ยา <2 wk ให้วัคซีนได้ทันทีที่หยุดยา
เคมีบำบัด ต้องหยุดยา 3-6 เดือนจึงให้วัคซีน
วัคซีน
BCG (Bacillus Calmette Guerin)
วัคซีนป้องกันวัณโรค เชื้อเป็น หลังฉีด มีตุ่มแดง/ฝีเม็ดเล็กๆและมีหนอง
*
ห้ามแกะ/เจาะหนองออก ห้ามใส่ ยา/ปิดแผล แนะนำรักษาความสะอาด ใช้สำลีชุบน้ำสะอาดเช็ดรอบๆ
HBV (Hepatitis B Vaccine)
วัคซีนป้องกันโรคตับอักเสบบี เชื้อตาย
ทารกที่มารดา HBsAg เป็นบวก ให้ HBV1 + HBIG 0.5 ml พร้อมกันคนละตำแหน่ง ภายใน 12 ชม.หลังคลอด และให้ HBV2 เมื่ออายุ 1 เดือน ในทารกที่ มารดาไม่รู้ผลเลือด/รู้ภายหลังได้รับ HBV1 ไม่เกิน 7 ชม. ให้ HBIG และ HBV2 เช่นเดียวกัน
ฉีดได้ในเดือน 0,1,6
หลังฉีด ปวด บวม หรือมีไข้ต่าๆ ใน 3-4 ชั่วโมงหลังได้รับวัคซีน เป็นอยู่ไม่เกิน 24 ชั่วโมง ควรให้ยาลดไข้
DTP (Diptheria, Tetanus toxoids and Pertussis Va
ccine Combined)
วัคซีนรวมป้องกันโรคคอตีบ บาดทะยัก และไอกรน ชนิดเชื้อตาย
ห้ามฉีดเข้าใต้ผิวหนัง ทำให้เป็นไตแข็งได้
หลังฉีด 3-4 ชั่วโมง มีอาการปวด บวม แดง ร้อน เป็นอยู่ไม่เกิน 2 วัน แนะนำ เช็ดตัวและให้ยาลดไข้ ประคบเย็นใน 24 ชั่วโมงแรก หลังจากประคบด้วยน้ำอุ่น
DTwP
วัคซีนที่ประกอบด้วย คอตีบ บาดทะยัก และไอกรนชนิดทั้งเซลล์/เต็มเซลล์ ใช้ ในเด็กทั่วไปที่ไม่มีข้อห้ามสำหรับวัคซีนไอกรน
DTaP
วัคซีนที่ประกอบด้วย คอตีบ บาดทะยัก และไอกรนชนิดไร้เซลล์ ใช้สำหรับผู้ที่ปัญหาในการใช้วัคซีนชนิดเต็มเซลล์ แล้วมีปฏิกิริยารุนแรงต่อวัคซีนชนิดเต็มเซลล์ ทำให้เกิดอาการทางระบบประสาท ไข้สูง ชัก
dT/ Td/ Tdap/ TdaP
วัคซีนคอตีบบาดทะยัก และวัคซีนคอตีบบาดทะยักและไอกรนชนิดไร้เซลล์ สำหรับเด็กอายุ 11 ปีขึ้นไปและผู้ใหญ่ เป็นเข็มกระตุ้น ทุก 10 ปี หญิงตั้งครรภ์ควรได้รับ Tdap/ TdaP 1 เข็ม เมื่ออายุครรภ์ 27-36 สัปดาห์
Pa
วัคซีนไอกรนชนิดไร้เซลล์ ใช้สำหรับเด็กอายุ 11 ปีขึ้นไป หรือหญิงตั้งครรภ์ที่ต้องการภูมิคุ้มกันต่อไอกรนเพียงอย่างเดียว โดยมีภูมิคุ้มกันต่อคอตีบบาดทะยัก เพียงพอแล้ว
Poliomyelitis vaccine
OPV: oral poliomyelitis vaccine
วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอชนิดเชื้อเป็น มีภูมิคุ้มกันเฉพาะที่ต่อเชื้อไวรัสโปลิโอที่เยื่อลำไส้
เด็กที่ไม่ได้รับวัคซีน OPV มาก่อน ให้เริ่มให้ทันที ให้ 3 ครั้ง ห่างกัน 6-8 สัปดาห์ และครั้งที่ 4 อีก 6-12 เดือนต่อจากคร้ังที่ 3 หากครั้งที่ 4 ให้ก่อนอายุ 4 ปี ควรให้อีกครั้งเมื่ออายุ 4-6 ปี กรณีให้ครั้งแรกหลังอายุ 6 ปี ควรให้เพียง 3 ครั้ง ตอน 0, 2, 12 เดือน
IPV: inactivated poliomyelitis vaccine
วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอชนิดเชื้อตาย
ในประเทศไทยเป็นวัคซีนรวมกับ DTP จึงต้องให้พร้อมกับ DTP โดยการฉีดเข้ากล้ามเนื้อ DTPa-IPV, DTPa-IPV-Hib, DTPa-IPV-Hib-HB
MMR (Measles, Mumps, Rubella Vaccine)
วัคซีนป้องกันโรคหัด-คางทูม-หัดเยอรมัน ชนิดเชื้อเป็น ฉีดเข้า SC ไม่ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ทำให้แพ้รุนแรงได้
ไข้ ผื่น ต่อมน้ำเหลืองโต ต่อมน้ำลายอักเสบ ผื่นแพ้ ผื่นลมพิษ หรือผื่นบวมแดงบริเวณที่ฉีด เกล็ดเลือดต่ำ ปวดข้อ ข้ออักเสบ ภาวะแทรกซ้อนทำระบบประสาท >> ชัก aseptic meningitis, encephalopathy/encephalitis
JE (Japanese Encephalitis Vaccine)
วัคซีนป้องกันโรคไข้สมองอักเสบชนิดเจอี ชนิดเชื้อตาย
ไข้ ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ผื่นหรือลมพิษ เกิดขึ้นน้อยในเข็มที่สองและเข็ม ต่อไป anaphylactic shock, severe neurological adverse event, กลุ่มอาการ Giantti-Crosti
Flu (Influenza vaccine)
วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ชนิดเชื้อตาย ฉีดเข้า IM ในเด็กอายุ 6 เดือนขึ้นไป แนะนำให้ฉีดก่อนเข้าฤดูฝน ปีละครั้ง อายุ <9 ปี การฉีดในครั้งแรกต้องฉีด 2 เข็มห่างกัน 1 เดือน กลุ่มเสี่ยงที่ควรฉีด >> หญิงตั้งครรภ์ (ไตรมาส 2-3), คนอ้วน, ผู้พิการทางสมอง, เด็กเล็ก 6 เดือน – 2 ปี, ผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป, ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจ ปอด หอบหืด ไต เบาหวาน หรือภูมิคุ้มกันบกพร่องและบุคลากรทางด้านสาธารณสุข
RV (Rotavirus vaccine)
วัคซีนป้องกันโรคอุจจาระร่วงจากเชื้อโรต้า ชนิดเชื้อเป็น ให้โดย oral route มี 2 แบบ คือ 2 dose เมื่ออายุ 2 และ 4 เดือน, 3 dose เมื่ออายุ 2, 4 และ 6 เดือน dose แรกที่อายุ 6-15 สัปดาห์ และ dose สุดท้ายอายุไม่เกิน 8 เดือน ให้พร้อมกับ OPV ได้ เด็กที่มีอาการอาเจียนหลังได้วัคซีน ไม่ต้องให้ซ้ำ ไม่ควรให้ dose แรกในเด็กอายุเกินกว่ากำหนด
Hib (Haemophilus influenza type B vaccine)
วัคซีนป้องกันโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อ Haemophilus influenza
type B ฉีดพร้อม DTP, HBV ในช่วงอายุ 2, 4, 6 เดือน ควรฉีดเข็มกระตุ้นเมื่ออายุ 12-18 เดือน ในผู้ที่ไม่มีม้ามหรือม้ามทำงานผิดปกติ และผู้ที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง
HPV (Human papilloma-virus vaccine)
วัคซีนป้องกันการติดเชื้อ Human papillomavirus สาเหตุสำคัญของมะเร็งปากมดลูก มี 3 ชนิด คือ 2, 4, 9 สายพันธุ์ ควรฉีดในเด็กหญิงและชาย อายุ 9-26 ปี ฉีด 3 เข็ม เน้นช่วง 11-12 ปี เดือนที่ 0, 1-2 และ 6 หรือแนวทางของกระทรวงสาธารณสุขให้ฉีดในเด็ก ป.5 จำนวน 2 เข็ม ห่างกัน 6-12 เดือน
Covid-19 Vaccine
วัคซีนโควิด-19 ในเด็ก เป็นวัคซีนชนิด mRNA (Pfizer)
เด็กอายุ 5 – 11 ปี ฉีด 2 เข็ม (ขนาด 10 ไมโครกรัม) (0.2 ml IM) ห่างกัน 8 สัปดาห์ (ฝาสีส้ม)
เด็กอายุ 12 ปีขึ้นไป ฉีด 2 เข็ม (ขนาด 30 ไมโครกรัม) (0.3 ml IM) ห่างกัน 3-4 สัปดาห์ (ฝาสีม่วง)
ผลข้างเคียง ปวด บวม แดง ร้อนบริเวณที่ฉีด หรือมีไข้ ปวดศีรษะ คลื่นไส้ เล็กน้อยใน 1-2 วันหลังฉีด
วัคซีนโควิด-19 ในเด็ก ชนิด Inactivated vaccine (Sinovac, Sinopharm)ในเด็กอายุ 6 ปีขึ้นไป โดยสธ.แนะนำให้ฉีดกระตุ้นด้วย mRNA
Sinovac
ฉีด 2 เข็ม (ขนาด 6 ไมโครกรัม IM) ห่างกัน 2-4 สัปดาห์
Sinopharm
ฉีด 2 เข็ม (ขนาด 4 ไมโครกรัม IM) ห่างกัน 3-4 สัปดาห์