Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ, สมาชิก นางสาว ภารดี ทิพย์กองลาศ 046 …
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ง
ชาติพ.ศ2542 แบ่งออกเป็น
9หมวดดังนี้
หมวดที่5 การบริหารและการจัดการศึกษา
ให้กระทรวงมีองค์กรณ์หลักที่เป็นคณะบุคคลจำนวน4องค์กร
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา
สภาการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมแห่งชาติ
คณะกรรมการการศานาและวัฒนธรรม
หมวดที่6มาตรฐานและการประกันคุณภาพ
ให้มีระบบประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพมาตรฐานทุกระดับ
ให้หน่วยงานต้นสังกัดจัดให้มีระบบประันคุณภาพภายในต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
หมวดที่4 แนวการจัดการศึกษา
การจัดการศึกษาต้องเน้นคุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ และบูรณาการความรู้เรื่องต่างๆเข้าด้วยกัน
ยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนต้องมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเอง
การจัดกระบวนการเรียนรู้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัด เน้นการฝึกทักษะกระบวนการคิด เรียนรู้จากประสบการณ์จริง
หมวดที่3 ระบบการศึกษา
การจัดการศึกษามี3รูปแบบ การศึกษาในระบบ นอกระบบ และอัธยาศัย
การศึกษาในระบบมี2 ระดับ คือการศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาระดับอุดมศึกษา
ให้มีการศึกษาภาคบังคับ จำนวน9ปี โดยให้เด็กอายุเข้าปีที่7 เข้าเรียนสถานศึกษาจนอายุ16เว้นแต่สอบได้ชั้นปีที่9ของภาคบังคับ
การศึกษาในระบบ คือ เป็นการกำหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา
การศึกษานอกระบบ คือ เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกำหนดจุกมุ่งหมายโดยเนื้อหาหลักสูตรต้องมีความเหมาะสม
การศึกษาตามอัธยาศัย คือ เป็นกการศึกษาที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อม และโอกาศ
หมวดที่2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
บุคคลมีสิทธิและโอกาศเสมอกันในการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า 12 ปี
บิดา มารดาผู้ปกครองมีหน้าที่จัดให้บุตรหรือบุคคลในความดูแลได้รับการศึกษาภาคบังคับ
การจัดการศึกษาสำหรับบุคคลที่มีความบกพร่องทางร่างกายสติปัญญา อารมณ์ สังคม ต้องจัดให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิและมีโอกกาศได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพิเศษ
การศึกษาสำหรับคนพิการในวรรคสองให้จัดตั้งแต่แรกเกิดหรือพบความพิการโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายและให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิได้รับสิ่งอำนวยความสะดวก เช่น สื่อ บริการและความช่วยเหลือทางการศึกษา
หมวดที่7 ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
ให้กระทรวงส่งเสริมอย่่างมีระบบ กระบวนการผลิต การพัฒนาครูที่เหมาะสมกับองค์กรเป็นวิชาชีพขั้นสูง
ให้มีองค์กรณ์วิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา มีฐานะเป็นองค์กรอิสระ
ให้มีองค์กรณ์กลางบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูยึดหลักกระจายอำนาจ
หมวดที่8 ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
ให้สถานศึกษาของรัฐเป็นนิติบุคคลมีอำนาจในการปกครองบำรุงรักษาจัดหาผลประโยชน์
ให้รัฐจัดสรรงบประมาณแผ่นดินให้กับการศึกษา
ให้มีการระดมทรัพยากรด้านงบประมาณ การเงิน จากรัฐ บุคคลครอบครัว ชุมชนมาใช้จัดการศึกษา
หมวดที่9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
รัฐต้องส่งเสริมสนับสนุนให้มีการผลิตและพัฒนาแบบเรียน ส่งเสริมให้มีการวิจัยติดตามประเมินผล
ให้มีการระดมทุนเพื่อจัดตั้งกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
รัฐต้องจัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนำ และโครงสร้างพื้นฐานเพื่อใช้ประโยชน์กับการศึกษา
หมวดที่1 บททั่วไปความมุ่งหมายและหลักการ
ในกระบวนการเรียนรู้ต้องมุ่งปลูกฝังจิตสำนึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการปกครองรู้จักรักษาและส่งเสริมสิทธิหน้าที่ เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย การรู้จักผลประโยชน์ของส่วนร่วม
การจัดการศึกษาให้ยึดหลักดังนี้
1.เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน
2.ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจความรู้ คุณธรรม การดำรงชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข
มาตรา 4 การให้คำนิยาม
มาตรฐานการศึกษา คือ ข้อกำหนดเกี่วกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึ่งประสงค์ และมาตรฐานที่ต้องการ
การประกันคุณภาพภายใน คือการประเมินผลและติดตามมาตรฐานการศึกษา
สถานศึกษา คือ สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยโรงเรียนศุนย์การเรียน วิทยาลัย สถาบัน มหาวิทยาลัย อื่นๆ
การประกันคุณภาพภายนอก คือ การประเมินผลและติดตามมาตรฐานสถานศึกษาจากภายนอก
การศึกษาตลอดชีวิต คือ การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่าง การศึกษาในระบบ นอกระบบ ตามอัธยาศัย
ผู้สอน คือ ครูและคณาจารย์ในสถานศึกษา
การศึกษาขั้นพื้นฐาน คือการศึกษาก่อนระดับอุดมศึกษา
ครู คือ บุคลากรวิชาชีพ ที่ทำหน้าที่หลักในด้านการเรียนการสอน
การศึกษา คือ กระบวนการเรียนรู้เพื่อเจริญงอกงาม โดยการถ่ายทอดความรู้
คณาจารย์ คือ บุคคลซึ่งทำหน้าที่ด้านการเรียนการสอนและการวิจัยระดับอุดมศึกษและปริญารัฐและเอกชน
ผู้บริหารสถานศึกษา คือ บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหารสถานศึกษาทั้งรัฐและเอกชน
ผู้บริหารการศึกษา คือบุคลากรวิชาชีพรับผิดชอบการบริหารการศึกษานอกสถานที่
มาตราที่1 พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ปีพ.ศ 2542
มาตราที่3 บรรดาบทกฎหมาย กฎ ข้อบังคับระเบียบประกาศ และคำสั่งอื่นในส่วนที่ได้บัญญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัตินี้ หรือซึ่งขัดหรือแย้งกับบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้แทน
มาตราที่ 2 พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่2)พ.ศ. 2545
มาตราที่5
ให้ยกเลิกความในมาตรา31-34 แห่งพรบการศึกษาพ.ศ 2542 และให้ใช้ความแทน ทำให้มีการปรับเปลี่ยนส่วนที่สำคัญ คือการจัดระเบียบบริหารราชการในกระทรวง
มาตราที่6
ให้ยกเลิกความในมาตรา 37-40 แห่งพรบการศึกษา 2542และให้ใช้ความแทนโดยสาระสำคัญมีการเปลี่ยนแปลงไป คือการใช้คำว่า คณะกรรมการและสนง.เขตพื้นที่การศึกษา แทนคำเดิม คือ คณะกรรมการและสนง.การศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม เขตพื้นที่การศึกษา และให้มีการเพิ่มเติมว่า สถานศึกษาอาชีวะเข้าไปในมาตรา 40
มาตราที่4
ให้ยกเลิกความในมาตรา 5 แห่งพรบการศึกษาพ.ศ 2542และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน มาตรา 5 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้และมีอำนาจออกกฎกกระทรวงระเบียบ และประกาศฉบับนี้ปฏิบัติตาม
มาตราที่7
ให้ยกเลิกความในมาตรา 45 วรรค2 แห่งพรบ การศึกษา2542 และให้ใช้ความใหม่แทนโดยใช้คำว่า คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา แทนคำเดิมคือ คณะกรรมการและสนง.การศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม เขตพื้นที่การศึกษา
มาตราที่3
ให้ยกเลิกบทนิยามคำว่ากระทรวงในมาตรา4แห่งพรบการศึกษา พ.ศ 2542และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน ''กระทรวง'' หมายความว่ากระทรวงศึกษาธิการ
มาตราที่8
ให้ยกเลิกความในมาตรา 51 แห่งพรบ.การศึกษาพ.ศ 2542และให้ใช้ความแทน โดยมีการเพิ่มเติมว่า ''คณะกรรมการการอาชีวะศึกษา'' เข้าไป
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่3)พ.ศ. 2553
พระราชบัญญัตินี้ประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่22 กรกฎาคม 2553 ประกอบด้วย4มาตรา โดยเหตุผลที่ต้องแก้เนื่องจากการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วย การศึกษาระดับประถมและระดับมัธยม มีระบบการบริหารการจัดการศึกษาของทั้งสองระดับรวมอยู่ในความรับผิดชอบของแต่ละเขตการศึกษาทำให้
การบริหารหารศึกษาเกิดความไม่คล่องตัวและเกิดปัญหาในการพัฒนา
มาตรา 3 ให้ยกเลิกในมาตรา 37แห่งพรบ.การศึกษา 2542 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพรบการศึกษา(ฉบับที่2) พ.ศ.2545 และให้ใช้ความใหม่แทน โดยกำหนดให้รํัฐมนตรี โดยคำแนะนำของสภาการศึกษามีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษาเกี่ยวกับการแบ่งเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแและเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
สมาชิก นางสาว ภารดี ทิพย์กองลาศ 046
นางสาว หมุมีนา ฤทธิ์โต 057