กฎหมายการศึกษา พรบ.การศึกษาแห่งชาติ 2542
หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
หมวด 6 มาตราฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
หมวด 5 การบริหารและการจัดการศึกษา
หมวด 3 ระบบการศึกษา
หมวด 8 ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
หมวด 1 บททั่วไป
หมวด 7 ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
ม.6 พัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้ง ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา
ม.10 การจัดการศึกษา
ม.8 การจัดการศึกษา
ม.12 นอกเหนือจากรัฐ เอกชน แล้วให้ บุคคล ครอบครัว แลสถาบันสังคมอื่นๆ มีสิทธิ ในการจัดการศึกษา
ม.9 การจัดระบบโครงสร้างและกระบวนการจัดการศึกษา
ให้สังคมมีส่วนร่วม
การพัฒนาสาระ กระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
เป็นการศึกษาตลอดชีวิต
ม.17 การศึกษาภาคบังคับ
ม.13 สิทธิประโยชน์ที่จะได้รับ
หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
ม.16 ระบบการศึกษา
ม.14 ผู้สนับสนุนหรือจัดการศึกษา มีสิทธิได้รับประโยชน์
ม.15 รูปแบบการจัดการศึกษา
การศึกษานอกระบบ
การศึกษาตามอัธยาศัย
การศึกษาในระบบ
ขั้นพื้นฐาน
ระดับอุดมศึกษา
หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา
ม.22 ผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด
ม.23 เน้นการบูรณาการ
การบริหารและการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐ
ม.47 ให้มีระบบประกันคุณภาพการศึกษา
ม.49 ให้มี สมศ. เป็นองค์กรมหาชน
คุณภาพภายนอก
คุณภาพภายใน
ม.51 คณาจารย์ ไม่รวมถึงบุคลากรสังกัดกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์และนวัตกรรม
ม. 52 วิชาชีพขั้นสูง ส่งเสริมการผลิต พัฒนาครู
ม.58 มีการระดมทรัพยากร ลงทุนด้านงบประมาณมาใช้จัดการศึกษา
ม.59 สถานศึกษาของรัฐที่เป็นนิติบุคคล ดูแลบำรุงรักษา ใช้และจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของสถานศึกษา
ม.63 รัฐจัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนำการสื่อสาร
เพื่อใช้ประโยชน์สำหรับการศึกษา
ม.64 รัฐส่งเสริมให้มีการผลิตและพัฒนาแบบเรียน โดยเปิดให้แข่งขันแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรม
*บทเฉพาะกาล
ม.75 ให้จัดตั้งสำนักงานปฏิรูปทางการศึกษาเป็นองค์กรมหาชนเฉพาะกิจ
ม.40 ให้มีคณะกรรมการรสถานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ขนาดใหญ่ ( นักเรียนเกิน 300คน) มีกรรมการ 15 คน
ขนาดเล็ก ( นักเรียนไม่เกิน 300คน) มีกรรมการ 9 คน