Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ไส้ติ่งอักเสบ (Appendicitis) - Coggle Diagram
ไส้ติ่งอักเสบ (Appendicitis)
อาการและอาการแสดง
เจ็บตึงแน่นท้อง ท้องแข้ง ไม่ถ่ายมา 5 วัน มีไข้ T 37.8 ํC)
สาเหตุ
การสะสมของอุจจาระแข็งๆในไส้ติ่งที่เรียกว่า นิ่วอุจจาระ( fecalith)ตกลงไปในรูไส้ติ่ง หรืออาจมีสิ่งแปลกปลอม เช่น เมล็ดผลไม้ หนอนพยาธิ/ไส้ติ่งมีการขดงอ มีแรงดันภายในไส้ติ่งสูง /ผนังลำไส้บวม / การอุดตันลำไส้จากการยึดติดของลำไส้
พยาธิสริรวิทยา
มีการอุดตันช่องภายในไส้ติ่งและระบายออกไม่ได้
ความดันภายในช่องไส้ติ่งเพิ่มขึ้นและเกิดการยืดตัวของหลอดเลือดที่ผนังลำไส้
เกิดการขัดขวางการไหลเวียนเลือดที่มาเลี้ยงไส้ติ่งและทำให้หลอดเลือดดำไหลกลับไม่ดีนำไปสู่เลือดคั่ง ทำให้แบคทีเรียภายในช่องไส้ติ่งเข้าผนังจึงเกิดการอักเสบ
การวินิจฉัย
1.ก
ารตรวจทางห้องปฎิบัติ
การจำนวน
(WBC 15,590 cell/cu.mm /Neu 86.9 (40-70) /Lym 5.8 (20-50)
2.การตรวจร่างกาย
(ตรวจพบมี guarding ,rebound tenderness บริเวณ RUQ)
ควรตรวจ alvarado score / ตรวจ Rovsing sign , Psias sign , obturator sign เพิ่มเติม
3.
การตรวจอัลตร้าซาวน์
ควรส่งตรวจ เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ ( CT scan )เพิ่มเติม ช่วยในการวินิจฉัยไส้ติ่งอักเสบในผู้ป่วยที่การวินิจฉัยไม่แน่ชัดว่าเป็นไส้ติ่งอักเสบ
(U/S :R/O partial gut obstruction /bowel ileus ไม่ได้ส่ง ทำ CT scan เนื่องจากกลัวเด็กได้รับผลกระทบจากรังสีทำให้เกิดความผิดปกติได้)
เกิดขึ้นจากการอุดตันของช่องโพรงภายในไส้ติ่ง ซึ่งนำไปสู่การอักเสบ ติดเชื้อ มักเกิดได้ในคนท้องไตรมาส 1 และ 2
ผลกระทบของการตั้งครรภ์ต่อโรค
ทำให้การวินิจฉัยภาวะไส้ติ่งอักเสบ ทำได้ยากขึ้น เนื่องจากขนาดของตัวเด็กและน้ำคร่ำที่ขยายเพิ่มขึ้น ทำให้ตำแหน่งในการตรวจพบไส้ติ่งคลาดเคลื่อนไปจากเดิม
(deley diagnosis , deley treatment )=> rupture appendicitis
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
1.ด้านร่างกาย เตรียมความสะอาดร่างกายทั่วไป ถอดเครื่องประดับ ของมีค่า ถอดฟันปลอม contact lens (ถ้ามี)
2.ด้านจิตใจ พยาบาลควรสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับหยิงตั้งครรภ์และครอบครัว เปิดโอกาสให้ซักถามข้อสงสัย อธิบายถึงเหตุผล ว่าทำไมต้องผ่าตัด อธิบายให้ทราบคร่าวๆเกี่ยวกีบ ห้องผ่าตัด ห้องพักฟื้นหลังผ่าตัด
3.ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปฎิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัด เช่น การ early ambulate การไอ/จาม ต้องทำออย่างไร จึงจะไม่ลุกกระทบกระเทือนแผล การลุกจากเตียงหรือการเปลี่ยนอิริยาบท
การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
1.วัดสัญญาณชีพ ทุก 15 นาที
4 ครั้ง ทุก 30 นาที
2 ครั้ง และ ทุก 1 ชม. จนสัญญาณชีพคงที่
2.ดูแลงดอาหารและน้ำ หลังวันผ่าตัดวันแรกหรือตามแผนการรักษาของแพทย์
3.กระตุ้นให้ผู้ป่วยลุกจากเตียงหลังผ่าตัด เพื่อให้ลำไส้มีการเคลื่อนไหว
4.การดูแลแผลผ่าตัด ระวังไม่ให้แผลเปียกน้ำ ห้ามแกะ เกาแผล ทำให้เกิดการ อักเสบ บวมแดง
5.เวลาไอหรือจาม ใช้มือประคองแผล ป้องกันแผลแยก
6.ในระยะแรกควรใช้วิธีการเช็ดตัว แทนการอาบน้ำ จนกว่าแผลจะแห้ง และไม่มี discharge ซึม
7.รับประทานยายามแผนการรักษาของแพทย์
8.ควรงดเว้นการยกของหนัก หรือทำงานหนัก อย่างน้อย 2 เดือน
9.นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ อย่างน้อย 6-8 10. ควรมาตรวจตามแพทย์ หากมีอาการผิดปกติ เช่น มีไข้ แผลบวม แดง มี discharge ซึม ควรมาพบแพทยืก่อนนัด
อาจเกิดภาวะไส้ติ่งอักเสบ
S:"ปวดแน่นทั่วท้อง คลื่นไส้ อาเจียน"
O: T=37.8 องศาเซลเซียส
O:CBC : WBC 15,590 cell/cu.mm. / Neu 86.9 (40-70)
Lym 5.8 ( 20-50) UA WBC 1-2 , bac few
O: Alvorado score = 5 ( 5-6 คะแนน น่าจะเป็นไส้ติ่งอักเสบ
O:Guarding No rebound tenderness
วัตถุประสงค์
หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจประเมินและรักษาไส้ติ่งอักเสบ
เกณฑ์การประเมิน
1. หญิงตั้งครรภ์ไม่เกิดอันตรายจากไส้ติ่งอักเสบ
2.ได้รับการผ่าตัดไส้ติ่ง
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินและตรวจร่างกายหญิงตั้งครรภ์ ตรวจ Rovsing sign,Psoas sign,obturator sign
2.ดูแลให้ได้รับยา Ampicillin 2 gm v stat then 1 gm v ทุก 4 ชม
3.รายงานแพทย์ทราบ เมื่อพบ sign การเปลี่ยนแปลงของไส้ติ่งอักเสบ
4.ดูแลเตรียม pre - op
การประเมินผล
หญิงตั้งครรภ์ได้รับการผ่าตัดไส้ติ่งพร้อมผ่าตัดคลอด พบภาวะไส้ติ่งแตก
เสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด
O:ผู้ป่วย G2P0A1L0 GA 31+4 wks.
O: UC I=6'-7' D= 20'' PV ; os close
วัตถุประสงค์
หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
เกณฑ์การประเมิน
หญิงตั้งครรภ์ไม่เกิดการคลอดก่อนกำหนด
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกทุก 4 ชม
2.ตรวจภายในเมื่อจำเป็น(กรณีเจ็บครรภ์จริง)
3.ดูแลให้ Adalat 1 tab oral ทุก 15 นาที
4 dose then 1 tab ทุก ภ ชม.
4.ดูแลให้ยา Dexamethasone 6 mg im ทุก 12 ชม
4 dose
5..ให้นอนพักผ่อนบนเตียงให้มากที่สุด
การประเมินผล
ผ่าตัดคลอดก่อนกำหนด ทารก เสียชีวิต
การรักษา
ได้รับยา Antibiotic ร่วมกับการผ่าตัดแบบเปิด open appendectomy)
ผลกระทบของโรคต่อการตั้งครรภ์แและทารก
เพิ่มความเสี่ยงต่อการแท้ง คลอดก่อนกำหนด และตายปริกำเนิดเพิ่มขึ้น
( ทารกคลอด stillbirth )
กรณีศึกษา
หญิงไทย อายุ 38 ปี อาชีพ รับราชการ
เรียนจบ ปริญญาตรี
CC
: เจ็บตึงแนน่นท้อง ไม่ถ่าย 5 วัน
PI
: G2P0A1L0 GA 31+ 4 wks. ANC 6 ครั้ง TT 2 dose G1 : abortion GA 6 wks. ขูดมดลูก 2561