Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Episiotomy, นางสาวจิราภรณ์ วิริยะภาพ รหัสนักศึกษา 62102301022 SN4 Gr. A3,…
Episiotomy
Hematoma
อาการ และอาการแสดง
มารดามีอาการปวดแผลฝีเย็บมาก ปวดบริเวณทวารหนัก หรือปวดหน่วงบริเวณช่องคลอด แผลฝีเย็บบวม ร้อน มีสีคล้ำ อาจมีปัญหาปัสสาวะหรืออุจจาระลำบาก มีอาการกดเจ็บที่ฝีเย็บ ขนาดของก้อนอาจมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2-3 เซนติเมตร
-
-
-
การรักษา
1.ขนาดของก้อนเลือดเล็กอาจดูดซึมหายไปเอง มักไม่ต้องทำอะไร ให้รักษาตามอาการและประคบด้วยความเย็น ให้ยาแก้ปวด ยาแก้อักเสบ ถ้าปัสสาวะเองไม่ได้ ควรใส่สายสวนปัสสาวะไว้
2.ขนาดก้อนเลือดใหญ่ต้องกรีดขูดเอาก้อนเลือดออก ถ้าขนาดเกิน 10 ซม. และโตเร็ว ต้องสงส้ยว่าอาจจะมีหลอดเลือดแดงฉีกขาดด้วย ให้หาตำแหน่งจุดที่เลือดออก หรือหาตำแหน่งหลอดเลือดที่ฉีกขาดแล้วทำผูกหรือการเย็บซ่อมแซม หรือบางรายอาจใส่ท่อระบายไว้ ส่วนรายที่มีการคั่งของเลือดในอังเชิงกรานจำนวนมาก อาจจำเป็นต้องผ่าตัดทางหน้าท้อง
3.กรณีมีก่อนเลือดคั่งใต้แผลฝีเย็บที่มีขนาดใหญ่ การรักษาทำได้โดยการตัดไหมที่เย็บไว้เพื่อเอาเลือดที่คั่งอยู่ออก ค้นหาตำแหน่ง ขอหลอดเลือดที่ฉีกขาดและเย็บซ่อมแชมจุดที่เลือดออกก่อนจะเย็บปิดแผลผีเย็บ
การพยาบาล
1.ประเมินขนาดของก้อนเลือดที่คั่งว่ามีขนาดโตขึ้นหรือไม่ เพราะถ้าขนาดไม่ใหญ่ขึ้นหรือขนาดของก้อนเลือดเล็กอาจดูดซึมหายไปเอง ถ้าก่อนเลือดมีขนาดโตขึ้น ปวดแผลมาก รายงานแพทย์
-
2.ประเมินอาการและอาการแสดงของ Hematoma เช่น ปวดแผลฝึเย็บมาก แผลฝึเย็บบวมมีสีม่วงคล้ำ ปวดบริเวณทวารหนักหรือปวดถ่วงบริเวถช่องคลอด รายงานแพทย์กรณีที่มีอาการปวดมากขึ้นและก่อนเลือดมีขนาดโตขึ้น
3.ประคบความเย็น โดยวางห่อน้ำแข็งบริเวณฝึเย็บ ช่วยลดอาการบวมได้อย่างมีประสิทธิภาพ และช่วยลดการไม่สุขสบายเนื่องจากจะมีอาการชา
4.การแช่ก้น ในรายที่มีอาการปวดความร้อนช่วยในการไหลเวียนเลือดให้ดีขึ้น ส่งเสริมการหายของแผล และช่วยให้เนื้อเยื่อหย่อนตัว ส่งเสริมให้สุขสบายและลดบวม
-
6.แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง มีกากใย และดื่มน้ำให้เพียงพอ การรักษาความสะอาดของร่างกายและอวัยวะสืบพันธุ์เพื่อส่งเสริมิการหายของแผลและป้องกันอาการท้องผูก
เกิดจากเนื้อเยื่อมีการกระทบกระเทือนหรือมีการฉีกขาดของหลอดเลือดดำบริเวณช่องทางคลอด ทำเลือดคั่งรวมเป็นถุงโปร่ง ซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อยที่สุด
แผลแยก
อาการ และอาการแสดง
มารดาหลังคลอดอาจมีอาการปวด ลักษณะแผลบวมแดง แผลปริออกจากกัน เจ็บแผลเมื่อลุก-นั่ง และอาจมีเลือดหรือหนองซึมออกจากแผล
สาเหตุ
ด้านผู้ป่วย
-
-
อาการท้องผูก และต้องออกแรงเบ่งอุจจาระ หรือการออกแรงมาก เช่น ยกหรือลากสิ่งของ ทำให้แผลเกิดการระบมหรือบวม และทำให้แผลแยก
-
-
-
-
-
แนวทางการแก้ไข
-
ด้านผู้ป่วย
-
-
-
แนะนำการนอมหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอ และนำการร่วมเพศอย่างน้อย 6 สัปดาห์หลังคลอดเพื่อให้แผลฝีเย็บหายดีก่อน
ด้านอุปกรณ์
-
ทำความละอาดและทำลายเชื้อบนอุปกรณ์ที่เปรอะเปื้อนสารคัดหลั่งของผู้คลอดก่อนรับผู้คลอดรายใหม่ด้วยหลัก Sterile
-
-
-
-
-
จิตตระการ ศุกร์ดี. (2565). การคั่งเลือดที่แผลฝีเย็บ, เอกสารประกอบการสอนบทที่ 8 การประเมินสภาพ และการพยาบาลมารดาในระยะหลังคลอดที่มีภาวะแทรกซ้อน, พิษณุโลก: วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พุทธชินราช