Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการพยาบาลอนามียชุมชน 5 ขั้นตอน - Coggle Diagram
กระบวนการพยาบาลอนามียชุมชน 5 ขั้นตอน
การวินิจฉัยปัญหาอนามัยชุมชน (community diagnosis)
1.การระบุปัญหา
ใช้เกณฑ์ ตัวชี้วัดด้านสุขภาพ
5D : Dead, Disability, Disease, Discomfort, Dissatisfaction
กระบวนการกลุ่ม (Nominal Group Process)
2.การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
ขนาดของปัญหา
ความรุนแรง
ความยากง่าย
ความวิตกกังวล/ความสนใจของชุมชน
3.การระบุปัญหา
และทำโยงใยสาเหตุของปัญหา
1.ชนิดของปัญหา
สาเหตุทางตรง
สาเหตุทางอ้อม
2.ชนิดของโยงใยสาเหตุของปัญหา
โยงใยสาเหตุทางทฤษฎี
Agent
Host
Environment
Risk factor
โยงใยสาเหตุที่เกิดขึ้นจริง
การปฏิบัติตามแผนงาน (community implementation)
เตรียมงานตามแผนชุมชน
จัดประชุมกลุ่ม เพื่อทำความเข้าใจวัตถุประสงค์และเป้าหมายโครงการ
กำหนดหน้าที่รับผิดชอบให้เหมาะสมกับตัวบุคคล
กำหนดแนวทางประสานงานให้ชัดเจน
ตรวจสอบความพร้อมของทรัพยากรและงบประมาณ
2 ขั้นดำเนินงาน
ลงมือปฏิบัติงานตามแผนที่กำหนดไว้ประสานงานและควบคุมติดตามงานและประเมินผลการดำเนินงานเป็นระยะเพื่อแก้ไขอุปสรรคและป้องกันปัญหาไม่ให้เกิดขึ้น
1.การประเมินชุมชน (community assessment)
ขั้นตอนการศึกษาชุมชน
1.การรวบรวมข้อมูล
ข้อมูลปฐมภูมิ
ข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลโดยตรง
ข้อมูลทุติยภูมิ
ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่มีอยู่แล้ว
ข้อมูลที่ต้องรวบรวม
ข้อมูลทั่วไปของชุมชน
ข้อมูลประชากร
ข้อมูลด้านสุขภาพ
ข้อมูลด้านพฤติกรรมสุขภาพ
ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม
ข้อมูลด้านการบริการสุขภาพ
เครื่องมือ
การสังเกต
การสำรวจ
การใช้แบบสอบถาม
การวัดและประเมิน
การทดสอบ
การสัมภาษณ์
2.การวิเคราะห์ข้อมูล
ข้อมูลเชิงปริมาณ
Descriptive stat
Inferential stat
ข้อมูลเชิงคุณภาพ
การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
3.การนำเสนอข้อมูล
บทความ
บรรยายสั้นๆ เหมาะสำหรับหัวข้อที่มีข้อมูลน้อย
ตาราง
นิยมใช้อ่านข้อมูลสะดวก เปรียบเทียบชัดเจน
กราฟเส้น
แสดงข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงปริมาณในเวลาต่างกัน
เห็นความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณและเวลา
แผนภูมิแท่ง
เปรียบเทียบข้อมูลที่ต่างกันหลายรายการ
แผนภูมิวงกลม
นำเสนอข้อมูลชุดเดียวกัน
พีระมิดประชากร
แสดงโครงสร้างประชากร ตามอายุและเพศ
การวางแผนแก้ปัญหาอนามัยชุมชน
(community planning)
การวางแผน
สาระสำคัญ 3 ประการ
เป็นเรื่องของการกระทำอย่างจงใจ
เป็นเรื่องของการเตรียมการ
เป็นเรื่องของการจัดกระทำเพื่อผลในอนาคต
ประเภทของแผน
แผนระดับปฏิบัติการ
แผนงาน(Program)
โครงการ(Project)
แผน(Plan)
แผนระยะยาว ระยะดำเนินงาน 5-10 ปี
แผนระยะปานกลาง ระยะดำเนินงานอยู่ระหว่าง 2-5 ปี
แผนระยะสั้น ระยะดำเนินงานอยู่ระหว่าง 2 ปี ลงไป
การทำแผนปฏิบัติงาน
ผสมผสานการทำงานของหลายหน่วยงานเข้าด้วยกัน (intersectoral coordination)
กระตุ้นให้ประชาชนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรม (community participation)
นำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม (appropriate technology)
จัดบริการต่าง ๆ ให้ต้องครอบคลุมผู้รับบริการ (accessibility)
โครงการและการเขียนโครงการ
ที่นิยมมี 2 วิธี
แบบประเพณีนิยม
1.ชื่อ โครงการ ชัดเจน บอกเล่าว่าใคร ทำอะไร ที่ใด
2.หลักการและเหตุผล
ที่มาของปัญหาระดับประเทศ
ที่มาของปัญหาระดับพื้นที่
สาเหตุของปัญหาคืออะไร
ขมวดว่าปัญหานั้นสำคัญจึงเป็นที่มาให้เราต้องแก้ปัญหา
3.วัตถประสงค์
S:Sensible (เป็นไปได้)
M:Measurable(วัดได้)
A:Attainable (ระบุสิ่งที่ต้องการ)
R:Reason (เป็นเหตุเป็นผล)
T:Time (เวลา)
4.เป้าหมาย ขยายวัตถุประสงค์ให้เป็นรูปธรรม
ใคร ปริมาณที่ต้องการวัด ต้องการให้เกิดอะไร ภายในระยะเวลาที่กำหนด
5.วิธีดำเนินการ กำหนดกิจกรรมตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการ
6.ระยะเวลาที่ดำเนินโครงการ ระบุเวลาเริ่มทำและสิ้นสุดโครงการ
7.งบประมาณ บอกแหล่งที่มาของงบประมาณ
จำนวนเงินงบประมาณ วัสดุ สิ่งสนับสนุน
8.การประเมินผล ระบุวิธีประเมินผล
9.ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ เป็นผลลัพธ์ที่อาจเกิดขึ้นได้ไม่อยู่ในวัตถุประสงค์ อาจเกิดหรือไม่เกิดก็ได้
10.ผู้รับผิดชอบโครงการ เป็นการระบุตัวบุคคลหรือ
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
แบบตารางเหตุผลสัมพัทธ์
การประเมินผลแผนงานโครงการ (community evaluation)
ประเมินระหว่างวางแผนและวิเคราะห์โครงการ (EvaluationPlanning and Appraisal หรือ Ex-ante Evaluation)
1) ปัญหามีความชัดเจนเพียงพอหรือไม่ มีขนาดและความรุนแรงของปัญหา
อย่างไร
2) แผนงานสอดคล้องกับนโยบายและปัญหาหรือไม่
3) การกำหนดวัตถุประสงค์ของแผนงานและวัตถุประสงค์ของโครงการสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักของนโยบายหรือไม่
4) กิจกรรมของแผนงานสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ และบรรลุวัตถุประสงค์ได้
หรือไม่
เป็นกระบวนการตรวจสอบว่า การปฏิบัติงานเป็น
ไปตามแผนที่กำหนด และบรรลุวัตถุประสงค์ที่ได้ตั้งไว้หรือไม่เพียงใด
การประเมินผลหลังเสร็จสิ้นโครงการ
(Post-Project Evaluation หรือ
Summative Evaluation)
ประสิทธิผล(Effectiveness)
ประสิทธิภาพ(Efficiency)
ความพอเพียง(Sufficiency)
ความเหมาะสม(Appropriateness)
ความเสมอภาค(Equality)
การประเมินผลในช่วงระหว่างโครงการ (On Going Project Evaluation)
1) ผลการปฏิบัติจริงของโครงการตรงกับเกณฑ์ที่กำหนดไว้หรือไม่ ทั้งในระดับ
ปริมาณ คุณภาพ และตารางเวลา
2) องค์ประกอบใดที่มีอิทธิพลทำให้การดำเนินงานประสบความสำเร็จหรือล้มเหลว
3) การให้บริการครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายหรือไม่ ผู้รับบริการให้ความร่วมมือ
และพึงพอใจหรือไม่