Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มกิจกรรมบำบัด (group activity therapy) - Coggle Diagram
กลุ่มกิจกรรมบำบัด (group activity therapy)
เพื่อให้ผู้ป่วย สามารถปรับตัวใช้ชีวิต อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข และพึ่งตนเองให้ได้มากที่สุด จากการประยุกต์กิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจำวัน
ใช้ประสบการณ์ในปัจจุบันและขณะนี้ (here and now).
เพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับตนเอง ลดการขัดยั้ง และปรับปรุงการสื่อสารระหว่างบุดคล
เป็นกระบวนการที่กิดขึ้นภายในกลุ่ม จากการมีปฏิสัมพันธ์ ของสมาชิกในกลุ่ม และมีผลทำให้เกิดประโยชน์ ให้กลุ่มมีความจริญงอกงาม และพัฒนาการ
สมาชิกกลุ่มเกิดการเรียนรู้ มีโอกาค้นหาความจริง มีการแลกปลี่ยนความรู้สึกนึกคิด และมืปฏิสัมพันธ์ กับกลุ่ม
มาชิกลุ่มเกิดความรู้สึกมั่นคงและภาคภูมิไจกับสิ่งที่ตนสามารถทำ และปรับพฤติกรรม ไปในทางทีหมาะสม
เป็นการรวมตัวของผู้ป่วยอย่างน้อย 2 คนขึ้นไปและมีปฏิสัมพันธ์กัน เกิดการสื่อสารแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน
วัดถุประสงค์
เพื่อสังเกตพฤดิกรรมที่ผู้ป่วยแสดงออคณะที่อยู่ในกลุ่ม
คำพูดและท่าทาง และพฤติกรรมที่แสดงออกด้วยท่าทางนั้นสอดคล้องกับ คำพูด
หาข้อมูลประกอบการวินิจฉัย และประเมินผลการรักษาพยาบาล เพื่อปรับแผนการพยาบาล
เพื่อให้ผู้ป่วยปลี่ยนพฤติกรรม ไปในทางสร้างสรรค์ และเป็นที่ยอมรับของสังคม
เพราะผู้ป่วยส่วนใหญ่ขาดความสนใจตัวอง ผู้อื่น และสิ่งแวคล้อม
การฝึกให้ผู้ป้วยทันมาสนใจ ตนองละสิ่งอื่นๆ มากขึ้น จะทำให้ขารู้จักระมัดระวัง พฤติกรรมของตนเอง และมีโอกาสได้เรียนรู้พฤติกรรม ที่หมาะสมในสังคม
กระตุ้นและสนับสนุน ให้ผู้ป้วยมีโอกสสร้างสัมพันธภาพ กับบุคคลอื่นๆ ด้วยความมั่นใจ
เสริมสร้างความภาคภูมิใจในตนอง ในฐานะที่เป็นผู้หนึ่งในสังคม
ผู้ป่วยฟื้นฟูความสามารถ และส่งเสริมทักษะ
บรรเทาหรือขจัดอการเข็งกร็งของกล้ามนื้อและข้อต่อ รวมทั้งช่วยผ่อนคลายความดึงเครียดของร่างกายละจิตใจ ให้เกิดความสนุกสนาน เพถิดเพลิน
เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมในสังคมได้.โดยไม่เป็นภาระแก่ผู้อื่นมากเกินไป เช่น. ฝึกให้ปฏิบัติ กิจวัตรประจำวันในผู้ป่วยที่มีการเจ็บป่วยแบบเรื้อรัง
9.ให้ไอกาสผู้ป่วย ได้เรียนรู้สิ่งใหม่เป็นการช่วยกระตุ้น และส่งเสริมความคิด ความสามารถของผู้ป่วย โดยมีผลสำร็จของงานเป็นที่สิ่งจูงใจ
ข้อดีข้อด้อย
ข้อดี
นอกจากผู้ป่วยจะได้รับประโยชน์จากการเรียนรู้สิ่งต่างๆ จากพยาบาลผู้นำกลุ่มแล้ว ผู้ป่วยยังจะได้รับประโยชน์จากการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันกับสมาชิกกลุ่มคนอื่นๆ
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยเกิดความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของสังคม
เนื่องจากการจัดกลุ่มกิจกรรมบำบัดแต่ละครั้งจะมีผู้ป่วยจำนวนหลายคนเข้าร่วมในกลุ่มกิจกรรม ทำให้พยาบาลสามารถประเมินอาการทางจิตของผู้ป่วยที่เข้าร่วมกลุ่มกิจกรรมบำบัดได้ครบถ้วนทุกคน ซึ่งจะเป็นการประหยัดเวลา ทำให้พยาบาลมีเวลาเหลือเพียงพอในการให้การพยาบาลผู้ป่วยในด้านอื่นๆ
ข้อด้อย
ผู้ป่วยบางรายอยู่โรงพยาบาลช่วงระยะเวลาสั้นๆ ทำให้มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มบำบัดแต่ละครั้งไม่มากนัก บางครั้งผู้ป่วยอาจมีการโกหกหรือเล่าเรื่องที่เป็นเท็จ เพื่อทำให้ตนเองมีคุณค่าหรือพยายามแสดงตัวเป็นแบบอย่างให้ผู้ป่วยอื่น
เรื่องส่วนตัวบางเรื่องที่ผู้ป่วยคุยกันภายในกลุ่มอาจจะถูกนำไปคุยภายหลังกลุ่มกิจกรรมบำบัดเสร็จสิ้น
ประโยชน์
1.ได้เรียนรู้และฝึกทักษะการสร้างสัมพันธภาพ ทักษะการสื่อสารกับบุคคลอื่น
2.ลดการมีพฤติกรรมแยกตัว และการหมกมุ่นครุ่นคิดเรื่องต่างๆ ที่ไม่อยู่บนพื้นฐานของความจริง
3.ได้รับการยอมรับ การสนับสนุน และการให้กำลังใจจากผู้นำกลุ่ม และสมาชิกภายในกลุ่ม
4.การเกิดยความหวัง มีพลังใจ และมีคุณค่าในตนเองเพิ่มขึ้น
5ได้เล่าระบายแสดงความรู้สึกและปัญหาต่างๆ ได้รับคำแนะนำเกี่ยวกับวิธีการต่างๆ ในการเผชิญปัญหา
6.มีการพัฒนาการเรียนรู้ต่างๆ เช่น ผู้ป่วยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ได้รับการยอมรับจากกลุ่ม
7.เกิดความรู้สึกว่าตนเองเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม และมีความสำคัญต่อกลุ่ม เกิดความภาคภูมิใจ และความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง
ขั้นตอน
ขั้นเตรียมการ
วางแผนการจัดกลุ่มกิจกรรม
พยาบาลผู้รับหน้าที่เป็นผู้นำกลุ่ม
กำหนดชื่อกิจกรรม
กำหนดวัตถุประสงค์
จัดตารางเวลาการจัดกิจกรรมกลุ่มบำบัด
ขั้นดำเนินการ
2.1. ขั้นเริ่มต้นกลุ่ม (orientation phase)
การสร้างสัมพันธภาพและสร้างบรรยากาศกลุ่มให้มีความน่าสนใจ
เริ่มการพูดคุยทักทาย แนะนำชื่อ
แจ้งระยะเวลาในการดำเนินกลุ่ม และกฎกติกาในการเข้าร่วมกลุ่ม
2.2. ขั้นดำเนินการกลุ่ม (working phase)
สมาชิกในกลุ่มมีปฏิสัมพันธ์ และเกิดการความรู้สึกมีส่วนร่วมและเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม.
สมาชิกจะเล่าประสบการณ์ ความรู้สึกของตนเองให้กลุ่มพร้อมกับจะได้รับการสะท้อนกลับและกำลังใจจากกลุ่ม
2.3. ชั้นสิ้นสุดกลุ่ม (termination phase)
การทบทวนข้อมูลหรือสรุปเนื้อหาของกลุ่มกิจกรรมบำบัด
ขั้นประเมินผล
หลังทำกิจกรรมบรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่
3.1. บรรยากาศกลุ่ม บรรยากาศกลุ่มกิจกรรมบำบัดเป็นอย่างไร
เช่น บรรยากาศมีความน่าสนใจหรือมีความตึงเครียดเกิดขึ้น
3.2. กระบวนการกลุ่ม
ลักษณะการมีปฏิสัมพันธ์กันระหว่างสมาชิก การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันอย่างทั่วถึงหรือไม่
3.3. เนื้อหา
ความสอดคล้องของเนื้อหากับวัตถุประสงค์ในการจัดกิจกรรมกลุ่มบำบัด
3.4. บทบาทผู้นำกลุ่มและผู้ช่วยผู้นำกลุ่ม
ผู้นำ
ความรู้ในเรื่องที่จัดกิจกรรมกลุ่มบำบัด
บุคลิกภาพและความมั่นใจ
ความสามารถในการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า
ความสามารถในการเชื่อมโยงประเด็นสำคัญและการใช้เทคนิคในการสื่อสารที่เหมาะสม
ความสามารถและทักษะในการจัดการกับผู้ป่วยที่มีลักษณะต่างๆ เช่น ผู้ป่วยเงียบ ผู้ป่วยนั่งหลับ ผู้ป่วยแสดงตัวว่าตนเองเก่ง และมีความสำคัญ เป็นต้น
ผู้ช่วยผู้นำ
มีการแสดงบทบาทเกินผู้นำกลุ่ม
มีการประสานงานกับผู้นำและมีทิศทางเดียวกัน
องค์ประกอบ
กิจกรรม (activity)
สอดคล้องและตรงตามวัตถุประสงค์ของกลุ่ม.
เช่น กลุ่มกิจกรรมนันทนาการ กลุ่มกิจกรรมกีฬา
สถานที่ (setting)
ปลอดภัยต่อผู้ป่วย สามารถกระทำได้ทั้งภายในหอผู้ป่วย และภายนอกหอผู้ป่วย เช่น ลานกิจกรรมบำบัดสนามกีฬา เป็นต้น
เช่น กลุ่มที่ต้องใช้สมาธิ เช่น กลุ่มหนังสือพิมพ์ กลุ่มให้ความรู้เรื่องยา ควรเลือกใช้สถานที่แบบปิดหรือสถานที่เงียบสงบไม่มีสิ่งรบกวน
ผู้นำกลุ่มกิจกรรมบำบัด (leader)
เป็นผู้ทำหน้าที่ในการดำเนินกิจกรรมกลุ่มบำบัด มีหน้าที่ด้วยกันหลายอย่าง เช่น การเริ่มต้นคิด วางแผนการประคับประคองให้กลุ่มดำเนินไปให้บรรลุวัตถุประสงค์ และสุดท้ายการยุติการจัดกลุ่มกิจกรรม.
การทำหน้าที่เป็นผู้นำกลุ่มที่มีประสิทธิภาพต้องมุ่งให้ความสนใจในกระบวนกลุ่ม (group process) และเรื่องราว เนื้อหาการสนทนา อารมณ์ และความรู้สึกที่เกิดขึ้นภายในกลุ่ม (group content)
การให้ข้อมูลย้อนกลับและการให้ความรู้ การสนับสนุนให้กำลังใจสมาชิกในกลุ่มก็เป็นสิ่งสำคัญ การส่งเสริมให้สมาชิกที่นิ่งเงียบขาดการปฏิสัมพันธ์ภายในกลุ่มได้มีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นมากยิ่งขึ้น
การจำกัดพฤติกรรมสมาชิกที่ยึดความคิดของตนเอง แสดงตนว่าเป็นจุดเด่นของกลุ่มโดยไม่สนใจหรือให้โอกาสสมาชิกในคนอื่นแสดงความคิดเห็น เป็นต้น
ผู้ช่วยผู้นำกลุ่ม (co-leader)
ทำหน้าที่ในการช่วยเหลือผู้นำกลุ่มในการวางแผนการจัดเตรียมเนื้อหา
ช่วยเหลือผู้นำกลุ่มให้ดำเนินกลุ่มได้บรรลุวัตถุประสงค์
สามารถปฏิบัติหน้าที่แทนได้ทันทีในกรณีที่ผู้นำกลุ่มไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้
สมาชิกกลุ่ม (mem bers)
มีหน้าที่ในการแสดงความคิดเห็นต่างๆ ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
มีความรับผิดชอบในการเข้ากลุ่มให้ตรงต่อเวลา
อยู่ภายใต้กฎกติกาการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มบำบัดที่ผู้นำกลุ่มได้กำหนดไว้
กิจกรรมบำบัด
ผู้ป่วยที่มีลักษณะแสดงตัวเป็นจุดเด่นของกลุ่ม (Dominant patient)
แสดงพฤติกรรมที่ทำให้สมาชิกภายในกลุ่มหรือผู้นำกลุ่มเห็นว่า ตนเองโดดเด่น มีความสามารถเหนือกว่าสมาชิกคนอื่น
แสดงความคิดเห็นตลอดเวลา ชี้นำให้กลุ่มดำเนินไปในทิศทางที่ตนเองต้องการ
ทำให้สมาชิกคนอื่นรู้สึกว่าไม่ได้รับโอกาสในการแสดงความคิดเห็น
ผู้นำกลุ่มควรดำเนินการในการลดพฤติกรรมการแสดงตัวเป็นจุดเด่นโดยการใช้คำพูด
เช่น คุณสมชายได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องยาในหลายประเด็น ดิฉันขอให้สมาชิกคนอื่นแสดงความคิดเห็นบ้างนะคะ เป็นต้น
ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองไม่มีส่วนร่วม(Uninvolved patient)
แสดงออกด้วยการเงียบและไม่มีปฏิสัมพันธ์กับสมาชิกอื่น
สาเหตุจากผู้ป่วยมีภาวะวิตกกังวลหรือกลัวที่จะสนทนากับบุคคลอื่นหรือผู้ป่วยขาดทักษะการสื่อสารหรือสร้างสัมพันธภาพกับบุคคลอื่น
เช่น ผู้ป่วยโรคจิตเภทเรื้อรังที่มักแยกตัวและมีความบกพร่องในการเข้าสังคม
ผู้นำกลุ่มควรตระหนักถึงความรู้สึกกลัวหรือวิตกกังวลที่เกิดขึ้กับผู้ป่วยซึ่งสามารถลดความรู้สึกกลัวหรือวิตกกังวลได้ด้วยการแสดงให้เห็นว่าผู้ป่วยมีคุณค่าและมีความสำคัญต่อกลุ่ม เช่น "คงจะเป็นการยากที่จะเล่าเรื่องตนเองให้สมาชิกท่านอื่นรับรู้ แต่สิ่งที่จะเล่าจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อสมาชิกคนอื่นๆ"
มีความรู้สึกว่าตนเองไม่ได้มีส่วนร่วมกับกลุ่มกิจกรรมบำบัด เพราะมีความสามารถมากกว่าสมาชิกคนอื่น มีความคิดและรับรู้ว่าตนเองไม่ได้มีความเจ็บป่วยทางจิต จึงไม่มีความจำเป็นจะต้องแสดงความคิดเห็นใดๆ
ผู้ป่วยลักษณะนี้ส่วนใหญ่จะเป็นบุคคลที่มีความรู้ มีการศึกษาในระดับดี
ผู้นำกลุ่มอาจใช้คำพูดเพื่อสนับสนุนให้ผู้ป่วยแสดงความคิดเห็น เช่น "คุณ ก ทำงานเกี่ยวกับบัญชีจะเป็นประโยชน์กับกลุ่มถ้าคุณช่วยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการทำบัญชีให้สมาชิกท่านอื่นทราบ"
ผู้ป่วยมีการแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว(Hostile patient)
แสดงน้ำเสียงดุดัน สีหน้าไม่พอใจขณะดำเนินกลุ่มกิจกรรมบำบัด
ผู้นำกลุ่มควรตอบสนองด้วยการสอบถามความรู้สึกผู้ป่วยและสนับสนุนให้ผู้ป่วยแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมในกลุ่ม ซึ่งผู้นำกลุ่มสามารถตอบสนองด้วยคำพูด เช่น "คุณสมหวัง น้ำเสียงคุณฟังดุดันนะคะ พอจะบอกได้ไหม ว่าเกิดอะไรขึ้น"
ผู้ป่วยที่ทำให้สมาชิกในกลุ่มสับสน เสียสมาธิ(Distracting patient)
แสดงพฤติกรรมจากการหลงผิดหรือประสาทหลอน ทำให้กลุ่มหยุดชะงัก
พูดนอกประเด็นการสนทนา
ผู้นำกลุ่มควรแสดงสิ่งที่เป็นจริง สิ่งที่เกิดขึ้นจริงและชักนำผู้ป่วยกลับสู่เนื้อหาที่กลุ่มสนทนาอยู่
เช่น "เรากำลังพูดกันถึงเรื่องยาต้านเศร้า กลับมาคุยประเด็นผลข้างเคียงของยากันต่อนะคะ"
หลังจบการทำกิจกรรมกลุ่มผู้นำกลุ่มควรเข้าไปสนทนากับผู้ป่วยแบบหนึ่งต่อหนึ่งเพื่อประเมินความคิด การรับรู้ของผู้ป่วย และให้การพยาบาลที่เหมาะสม
ประเภทของกลุ่มกิจกรรมบำบัด
กลุ่มส่งเสริมสุขกาพ (Helh Educatin group)
เพื่อให้ความรู้ค้านสุขกาพเก่ผู้ป่วยจิดเวชซึ่งมักจะมีความบกพร่องในกรดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
เพื่อให้ผู้ป่วยสนใจดนเองในการรักษาความสะอาดของร่างกายและการทำกิจวัตรประจำวันได้สมบูรณ์ขึ้น
ให้ผู้ป่วยสำรวจสุขอนามัยของตนเอง แลไห้ความรู้ด้านสุขภาพและสุขภาพจิต ให้ผู้ป่วยได้อภิปรายแสดงความคิดเห็นให้ข้อเสนอแนะ และสรุปแนวทางของการปฏิบัติดนพื่อนำไปปฏิบัติ
กลุ่มเสริมแรงจูงใจ (Remotivation Group)
เพื่อช่วยฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยเรื้อรังที่อยู่ในโรงพยาบาล. มานานจนแยกตัวจากสังคมและมีพฤติกรรมถดถอย
เพื่อทำให้ผู้ป่วย สามารถสร้างสัมพันธภาพและปรับตัวเข้ากับผู้อื่น ลดการแยกตัว
เพื่อป้องกันไม่ให้กิดการเสื่อมสมรรถภาพไปกว่าเคิม
เพื่อช่วยฟื้นฟูความทรงจำจากการทบทวนความรู้ความสามารถที่มี นำมาทำกิจกรรมพื้นฐานทางสังคมในการดำเนินชีวิต
กลุ่มนันทนาการบำบัด (ecreatioal goup)
เพื่อความรื่นเริง สนุกสนาน เพลิดเพลิน ผ่อนคลาย ความตึงครียด บรรเทาอาการเข็งกร็งของกล้ำมเนื้อและข้อค่อ
ได้แก่ ร้องเพลง รำวง เล่นเกมกีฬา ซึ่งเป็นการแสดงความสามารถและส่งเสริมทักษะด้านดนตรีและกีฬา ให้ความรู้สึกเป็นอิสระ เสริมสร้างพลานมัย ฝึกการทำงานเป็นทีม เรียนรู้กดิกาการเล่นกีฬา ทั้งยังกระคุ้นให้ กระคือรือรั้น คิดแข่งขันกัน และส่งเสริม มีการปรับตัวเพื่ออยู่ร่วมกับผู้อื่น ภายใต้กภูเกณฑ์ของสังคมได้
กลุ่มอ่านหนังสือ (Education group)
เพื่อเพิ่มพูนความรู้ให้ผู้ป้วย ส่งเสริมทักษะการฟังและการอ่าน เพิ่มสมาธิ ฝึกให้รู้จักคิดกล้าแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นมีความรู้ให้ทันเหตุการณ์ในสังคม
ในรูปแบบต่างๆ เช่น อ่านหนังสือสารคดี หนังสือพิมพ์ และเก็บรายละเอียดมาเล่า และวิจารณ์กันในกลุ่มเป็นการ
กลุ่มอาชีวบำบัด (0ccupational group)
เพื่อฝึกทำงานตามความสามารถ ได้ใช้สมอง ใช้สายตาและมือประสานกันทำงาน (eye hand coordinaion) เรียนรู้การระบายอารมณ์ และพลังงานออกมาในรูปที่เป็นประไยชน์. เกิดผลสำเร็จที่ภาคภูมิ ไจในผลงาน ใช้งานอาชีวบำบัด เพื่อการสื่อสารสร้างสัมพันธภาพจากการสมทนาระหว่างทำงานร่วมกัน
ลักษณะของงานอาชีวบำบัด แบ่งออกปืน 2 ประเภท คือ
1). งานที่กระตุ้นเป็นงานที่ทำให้ผู้ทำรู้สึกตื่นตัวเกิดความกระคือรือรั้น สนุกสนานในงานนั้นๆ ได้ผดีในผู้ป่วยประภทที่มี พฤติกรรมถอยหนึ (Wihtmwn) และผู้ปวยที่ซึมเศร้า (Depress)
งานที่มีการเคลื่อนไหวมากๆ
. งานที่มีสีสันฉูดฉาด
งานที่ได้ผลเร็ว คือ งานที่สำเร็จในวลาสั้นๆ
2) งานที่ต้องใช้สมาธิ ความตั้งใจมากๆ ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกสงบ ลงคลายความฟุ้งช่าน ได้ผลดีในผู้ป้วย Overactive และผู้ป่วย Manic depressive
งานที่ทำติดต่อกันไปเรื่อยๆ เช่น ทอเสื่อ พับถุง ทำพรมเช็ดเท้า.
งานที่ทำซ้ำชากจำเจ งานสี่สันไม่ฉูดฉาด
กลุ่มภาพสะท้อน (Projective group)
เป็นกลุ่มบำบัดเชิงวิเคราะห์ โดยให้ผู้ปวยวาดภาพลงในกระดาน. งานที่วาดจะสะท้อนความรู้สึกนึกคิดความต้องการความขัดแย้ง. การปรับตัววุฒิถาวะ และบุคลิกภาพของผู้ป่วย.
พยาบาลพิจารณา และแปลความหมาย จากลักษณะของรูปภาพ ลายเส้น การใช้สีการวางตำแหน่งของภาพบนเนื้อที่กระดาษ และการพูดบรรยายความรู้สึกของผู้ป่วยต่อภาพที่วาด
เพื่อเกิดความเพลิดเพลิน และผ่อนคลายความดึงเครียด แลกเปลี่ยนความคิดห็นของภาพที่วาด
เพื่อจะได้ระบายปัญหา ความกับข้องใจ ความขัดแย้งในใจ ไดยการวาดภาพ และการพูดคุยการแสดงความคิดเห็น
กลุ่มดรียมตัวจำหน่าย (Pre-discharge group)
เพื่อเตรียมผู้ป่วยให้กลับเข้าสู่ชุมชน และสังคมภายนอกโรงพยาบาล
กระตุ้นให้ผู้ปัวยรับรู้ตนเอง เกี่ยวกับอาการป่วยก่อนเข้ารักษา และอาการที่เป็นอยู่ขณะปัจจุบัน
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน ในเรื่องการปฏิบัติตนเมื่อกลับบ้าน
เพื่อให้ผู้ป่วยทราบและเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติดน เมื่อกลับไปอยู่บ้านและยังตรียมให้ผู้ป่วยวางแผนการดำเนินชีวิตประกอบอาชีพตามความสามารถ
กลุ่มประชุมปรึกษา (Patient - stall meeting group)
เพื่อกระตุ้นให้สนใจการทำกิจกรรมประจำวัน และสิ่งแวดล้อมรอบตัว
โดยให้ทบทวนประสบการณ์การเข้าร่วมกลุ่มบำบัดตำงๆ ที่จัดตลอดสัปดาห์. ตั้งแต่วันจันทร์ถึงวันศุกร์
โดยการให้ผู้ปวยที่เป็นหัวหน้ากลุ่มของกลุ่ม นำสรุปผลการทำกลุ่มบำบัดที่ตนรับผิดชอบ และให้สมาชิก บอกประโยชน์ที่ได้รับ ข้อเสีย เสนอข้อคิดเห็น และแนวทางการปรับปรุง วิธีการจัดกลุ่มให้มีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น
กลุ่มชุมชนบำบัด (Group Therapeutic Commnity)
เพื่อให้ผู้ปัวยมีส่วนร่วมในการบริหารงาน การรักษาพยาบาลและการแก้ไขปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้น จากการอยู่ร่วมกันในหอผู้ป่วย
โดยเปิดไอกาสให้ผู้ป่วย แสดงความรู้สึก ความติดห็น ที่มีต่อเจ้าหน้ำที่ สถานที่ และความป็นอยู่กายในหอผู้ป่วย รวมทั้งขัอเสนอแนะ ในการแก้ไข ปัญหา.
ข้อมูลต่างๆ ของผู้ป่วยจะเป็เสมือนกระจก ส่องให้น้ำที่มองห็นความบกพร่องต่างๆ ที่มีอยู่ทำให้ปัญหา ได้รับการแก้ไข ผู้ป่วยได้รับการรักษาพยาบาลที่เหมาะสม
เป็นการจูงใจให้เกิดความสนใจสภาพแวดล้อมในหอผู้ป่วย และเรียนรู้การจัดการตนแอง ให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้
จัดให้ผู้ป่วยและเจ้าหน้าที่ในหอผู้ป้วยมาพบปะ ประชุมกัน
เกณฑ์ในการพิจาราณเลือกกิจกรรมให้ผู้ป่วย
1, เสนอกิจกรรมที่เหมาะสมหลายอย่าง ให้ตัดสินใจว่า จะเลือกทำกิจกรรมใด
พิจารณาความสามารถร่างกายของผู้ป่วย ให้เอื้ออำนวยต่อกิจกรรมนั้นๆ
ระยะเวลาของความสนใจ ใช้ช่วยบ่งชี้ชนิดของกิจกรรม ควรเป็นงานไหญ่ หรืองานเล็กมากน้อยพียงใด เพื่อช่วยลดความกังวลของผู้ป่วย
ทักษะเดิมของผู้ป่วย ถ้ามีทักษะเดิม จะช่วยให้ผู้ป่วยมีความมั่นใจสูงขึ้น
กิจกรรมนั้นจะต้องบรรเทาอาการทางจิดของผู้ป่วยได้
ปริมาณและจำนวนวัสดุ อุปกรณ์ เพียงพอต่อการจัดกิจกรรม
วัดถุประสงค์ในแต่ละชั่วไมงต้องพิจารณาว่าวัตถุประสงค์ ของกิจกรรมแต่ละชั่วโมงต้องการเน้นการฟื้นฟูผู้ป่วยด้านใด
8, ถ้าเป็นไปได้ควรป็นกิจกรรม ที่เป็นเอกลักษณ์ หรือสัญลักณ์ของสังคมปัจุบัน รวมทั้งประเพณี วัฒนธรรม เพระเป็นการรียนรู้สังคมของผู้ป่วยด้วย
บทบาทของพยาบาลในการบำบัดทางจิตสังคม
ไห้ความสะดวกเอื้ออำนวยประโยชน์แก่กลุ่ม
1.1 วางแผนการดำเนินการกลุ่มให้หมาะสมกับผู้ป่วย
1.2 ให้ความเชื่อมั่นเรื่องการรักษาความลับของผู้ป้วยที่เปิดเผยในกลุ่ม
สร้างบรรยากาศที่ป็นมิดรอบอุ่นและผ่อนคลาย
2.1 เป็นแบบอย่างที่ดีในการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
2.2 ส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกันในกลุ่ม
2.3 ประสานไมตรี สร้างความสามัคคี และลดวามขัดแยังกายในกลุ่ม
2.4 เคารพและรักษาสิทธิของผู้ป่วยทุกคน
ควบคุมกลุ่มให้คำเนินไปตามเป้าหมาย
3.1 อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจและปฏิบัติตามวัตถุประสงค์ของกลุ่มได้
3.2 ดึงความสามารถเฉพาะตัวของผู้ป่วยแต่ละคนออกมาใช้ในกลุ่ม
3.3 สนับสนุนเละให้ความช่วยหลือผู้ป่วยในการแก้ปัญหา
3.4 สังเกดพฤติกรรม แนวคิด อารมณ์ และวิธีการแก้ปีญหาของ ผู้ป่วยเพื่อ นำมาเป็นแนวทางในการคำนินการกลุ่ม
สนับสนุนและให้กำลังใจผู้ป่วยเพือให้มีส่วนร่วมในกลุ่ม
4.1 กระตุ้นให้ผู้ป่วยช่วยกันคิด พิจารณากิจกรรม ที่กระทำร่วมกัน
4.2 สนับสนุนให้ผู้ป่วยร่วมมือทำกิจกรรมให้สำเร็จ โดยให้กำลังใจ เพื่อให้ผู้ป่วยมี ความกระคือรือรั้นที่จะร่วมทำกิจกรรม
4.3 ส่งเสริมให้ผู้ป่วยเป็น ผู้นำกลุ่มในการทำกิจกรรม. ที่สามารถทำได้
สรุปเละเพิ่มเติมข้อมูลในประเด็นต่างๆ ที่สมาชิกในกลุ่มเสนอ แนะให้ครอบคลุม
5.1 จับประเด็นข้อคิดเห็นของผู้ป่วยที่ได้จากกลุ่มให้ตรอบคลุม
5.2 จัดการให้การตัดสินใจของกลุ่ม ออกมาในลักษณะประนีประนอม และเห็นชอบร่วมกัน
5.3 สรุปแนวทางการแก้ปีญหาและข้อคิดห็นที่ได้จากกลุ่ม
5.4 ให้ข้อคิดเห็นที่ผู้ป่วยสามารถนำไปปฏิบัติได้