Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหอบหืด (Asthma) - Coggle Diagram
โรคหอบหืด (Asthma)
สาเหตุ
-
-สิ่งกระตุ้นต่างๆ โดยการหายใจเข้าไปอาหารหรือ ยาที่รับประทาน เช่นฝุ่น ตัวไรฝุ่น นำ้มันรถ สารเคมี มลพิษอากาศ ขนและรังแคสัตว์ เช่น สุนัข แมว อาหารเช่น ไข่ นม อาหารทะเล
-
-
-
-
การป้องกัน
ปัจจุบันยังไม่มีวิธีรป้องกันโรคหอบหืดแต่การป้องกันและการควบคุมอาการของโรคไม่ให้กำเริบนั้นสามารถทำได้และถือเป้นส่วนหนึ่งของการรักษาโรค โดยเฉพาะเเพทย์จะคนหาปัจจัยที่กระตุ้นให้เกิดอาการหอบหืด เช่น สารก่อภูมิแพ้ สารระคายเคือง และให้คำแนะนำในการหลีกเลี่ยงปัจจัยเหล่านั้น เช่น กำจัดไรฝุ่นในบ้าน หลีกเลี่ยงการคลุกคลีกับสัตว์เลี้ยง หลีกเลี่ยงควันบุหรี่และควันต่างๆเป็นต้น
นอกจากนี้ผู้ป่วยยังสามารถควบคุมอาการของโรคได้ด้วยการดูแลตัวเองให้มีสุขภาพแข็งแรง โดยการออกกำลังการอย่างสมำ่เสมอ ควบคุมนำ้หนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ ระวังหรือรักษาโรคกรดไหลย้อน เข้ารับการฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ ผ่อนคลายตัวเองอย่าเครียดและนอนพักผ่อนให้เพียงพอ
อาการ
ผู้ป่วยโรคหอบหืดจะมีอาการไอ มีเสมหะ แน่นหน้าอกหายใจไม่อิ่ม หายใจมีเสียงหวีดและเหนื่อยหอบ โดยอาการจะเป็นๆหายๆ ส่วนใหญ่เป็นช่วงกลางคืนหรือเช้ามืดและหลังการสัมผัสปัจจัยกระตุ้นต่างๆ อาการโรคมีตั้งแต่ไม่รุนแรงมาก เช่นไออย่างเดียว มีอาการเป็นช่วงๆ อาการรุนแรงมาก เช่น หอบทุกวัน หรือมีอาการตลอดเวลาจนไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ปกติ
การรักษา
แนวทางในการรักษาอาการหอบหืดประกอบไปด้วย การรักษาภาวะอักเสบเพื่อควบคุมอาการของโรคให้สงบลง และการป้องกันการกำเริบด้วยการหลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้นต่างๆที่ทำให้เกิดอาการหอบหืดเพื่อให้ผู้ป่วยสามรถใช้ชีวิตได้ปกติที่สุดเท่าที่จะทำได้
เนื่องจากโรคหอบหืดเป็นโรคที่มีการเปลี่ยนแปลงอาการเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา แพทย์จึงจะประเมินการรักษาด้วยยาเป็นระยะ และอาจต้องปรับเปลี่ยนหรือลด-เพิ่มขนาดของยาตามความจำเป็นเพื่อให้การควบคุมโรคเป็นไปอย่ามีประสิทธิภาพ
การวินิจฉัย
นอกเหนือจากการชักประวัติและการตรวจร่างกายดดนเฉพาะการฟังเสียงปอดทั้งสองข้างแล้ว แพทย์วินิจฉัยโรคหืดได้ด้วยการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจสมรรถภาพปอดด้วยวิธี spirometry ซึ่งเป็นวิธีมาตรฐานในการตรวจวัดปริมาณของอากาศที่หายใจเข้าและออกจากปอด รวมถึงประสิทธิภาพของปอดในการลำเลียงออกซิเจนเข้าสู่กระเเสเลลือด
ก่รตรวจ peak Expiratory flow (PEf) เป็นการตรวจสมรรถภาพปอดโดยใช้เครื่อง peak flow meter ดดยให้ผู้ป่วยสูดลมหายใจเข้าให้เต็มปอดแล้วเป่าออกให้แรงที่สุดเพื่อวัดค่าความเร็วสูงสุดของลมที่เป่าออกได้ หากค่าที่วัดได้ตำ่กว่าปกติอาจเป็นไปได้ว่าเกิดจากภาวะหลอดลมตีบ
-
สรุป
แม้ว่าโรคหอบหืดจะไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่ถึงอย่างนั้นก็ยังมียารักษารวมทั้งเครื่องมือต่างๆ ที่จะมาตอยช่วยเหลือผู้ป่วยให้มีความทุกข์ทรมานและเสี่ยงต่ออันตรายกับโรคนี้น้อยลง รวมทั้งตัวของผู้ป่วยเองก็ต้องคอยระมัดระวังสิ่งกระตุ้นต่างๆ เตรียมพร้อมรับมือกับอาการที่อาจจะกำเริบได้ตลอดเวลา