Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน้าที่ในการชำระหนี้, นายก้าวไกล บำรุงหมู่ 63012310063 …
หน้าที่ในการชำระหนี้
3 การผิดนัดไม่ชำระหนี้
(ลูกหนี้)
ลูกหนี้ผิดนัดโดยต้องตักเตือนก่อน
หนี้ประเภทที่เจ้าหนี้ต้องเตือนก่อนลูกหนี้จึงจะผิดนัดได้แก่หนี้2กรณี
หนี้ที่กำหนดเวลาชำระหนี้มิใช่ตามวันเวลาปฐิทิน
หนี้ที่ไม่มีกำหนดชำระหนี้
ลูกหนี้ผิดนัดโดยเจ้าหนี้ไม่ตักเตือน
หนี้ที่มีกำหนดชำระตามวันแห่งปฏิทินหรือหนี้ที่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้าก่อนการชำระหนี้ ซึ่งอาจคำนวณนับได้ตามวันแห่งปฏิทิน
หนีละเมิด เกิดขึ้นจากการล่วงสิทธิของผู้อื่น มิใช่เกิดจากนติกรรมสัญญาจึงไม่มีกำหนดเวลาชำระหนี้ไว้
กำหนดชำระหนี้กับการผิดนัด
กรณีที่ไม่ถือว่าลูกหนี้ผิดนัด
เป็นเหตุที่เกิดจากเจ้าหนี้เอง คือ เจ้าหนี้ผิดนัด
เหตุเกิดจากบุคคลภายนอก ตัวย่างตาม ฎีกาที่1843/2525
เกิดจากภัยธรรมชาติ ตัวอย่าง ฎีกาที่750/2518
ผลของการผิดนัดของลูกหนี้
ลูกหนี้ต้องรับผิดในความเสียหายอันเกิดแต่การผิดนัด
เช่น ทำสัญญารับจ้างสร้างบ้านให้ เขาตกลงว่าจะสร้างเสร็จใน6เดือน แต่สร้างไม่เสร็จล่าช้าไป ทำให้ผู้ว่าจ้างต้องไปเช่าบ้านเขาอยู่ ต้องเสียค่าเช่าบ้านในระหว่างนั้น ส่งคืนบ้านเช่าช้ากว่าที่กำหนดทำให้ต้องเสียหายไม่ได้รับค่าเช่าที่ควรจะได้(ปพพ.มาตรา215)
เจ้าหนี้อาจไม่รับชำระหนี้ คือ ปฏิเสธไม่รับชำระหนี้
ลูกหนี้ต้องรับผิดในความเสียหายอันเกิดระหว่างผิดนัดเพิ่มขึ้น ตัวอย่าง(ฎีกาที่ 1296/2518) (ฎีกา258/2523)
1 หน้าที่ชำระหนี้ให้ถูกต้อง
1.1วัตถุแห่งหนี้
หนี้กระทำการ
ปพพ.มาตรา219 การชำระหนี้พ้นวิสัยซึ่งลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดชอบ
เช่น ทำสัญญาจ้างจิตรกรฝีมือดีมาวาดรูปเหมือนของตนเอง แต่ก่อนจะวาดรูปจิตกรเกิดประสบอุบัติเหตุกลายเป็นอัมพาตไม่สามารถวาดรูปได้ต่อไป เช่นนี้กฎหมายถือว่าเป็นพฤติการณ์ที่ลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดชอบแล้ว ตามปพพ.มาตรา219 วรรคแรก
หนี้งดเว้นกระทำการ
ปพพ.มาตรา213 วรรคสาม
เช่น ทำสัญญาเช่าที่ดินเขาสร้างอาคารพาณิชย์พื่อทำการค้าขาย เจ้าของที่ดินไม่ต้องการให้อาคารพาณิชย์ที่สร้างขึ้นบังวิวทิวทัศน์ของบ้านตนจึงตกลงห้ามสร้างอาคารสูงเกิน 2ชั้น ถ้าผู้เช่าสร้างเกินกว่าที่ตกลงไว้ ผู้เช่าซึ่งเป็นลูกหนี้ฝ่าฝืนหน้าที่ในการชำระหนี้และอาจถูกบังคับให้รื้อถอนการที่ได้ทำลงนั้นตาม ปพพ.มาตรา213 วรรคสาม
หนี้ส่งมอบทรัพย์สิน
ปพพ.มาตรา 462 วิธีส่งมอบทรัพย์สินแก่ผู้ซื้อ
หนี้ที่ลูกหนี้มีหน้าที่ต้องส่งมอบทรพย์สินแก่เจ้าหนี้
เช่น สัญญาซื้อขายก๋วยเตี๋ยว ฝ่ายผู้ซื้อก็มีหน้าที่ต้องส่งมอบทรัพย์สินคือราคาก๋วยเตี๋ยวแก่คนขาย ในขณะที่คนขายก็มีหน้าที่ต้องส่งมอบทรัพย์สินคือก๋วยเตี๋ยวแก่ผู้ซื้อ
เช่น ซื้อม้าที่ชื่อแมว ก็ต้องส่งม้าที่ชื่อแมว ให้ จะส่งม้าที่ชื่อไก่ไม่ได้
ทรัพย์เฉพาะสิ่ง
ไม่เป็นทรัพย์เฉพาะสิ่ง
1.2วัตถุแห่งหนี้กับวัตถุประสงค์แห่งนิติกรรม
วัตถุประสงค์ของนิติกรรมนั้น อยู่ในขั้นมูลฐานก่อนก่อหนี้คือเป็นที่มาแห่งหนี้ประการหนึ่ง แต่วัตถุแห่งหนี้นั้นเป็นผลเมื่อนิติกรรมเกิดและเกิดหนี้ขึ้นจึงีวัตถุแห่งหนี้ขึ้นมา
วัตถุประสงค์ของนิติกรรมนั้นก็มีเฉพาะในนิติกรรมเท่านั้น แต่วัตถุแห่งหนี้นั้นมีในหนี้ทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นหนี้ที่เกิดจากนิติกรรมหรือหนี้ที่เกิดจากละเมิด จัดการงานนอกสั่งและลาภมิควรไดด้ ก็จะมีวัตถุแห่งหนี้ทั้งสิ้น
วัตถุประสงค์ของนิติกรรมนั้นมีได้ไม่จำกัด ขึ้นอยู่กับความประสงค์ของผู้ทำนิติกรรมนั้น ว่าต้องการจะผูกนิติสัมพันธ์กันในเรื่องใด แม้จะมิได้มีบัญญัติไว้ในกฎหมาย แต่วัตถุแห่งหนี้ไม่ว่าจะเป็นหนี้เกิดจากอะไร ในที่สุดแล้ววัตถุแห่งหนี้ก็จะมีเพียง 3อย่างคือ หนี้กระทำการ หนี้งดเว้นกระทำการ และหนี้ส่งมอบทรัพย์สินเท่านั้น
1.3ทรัพย์อันเป็นวัตถุแห่งหนี้
การที่ทรัพย์นั้นจะเป็นวัตถุแห่งหนี้
ตาม ปพพ.195 วรรคสอง จะเห็นได้ว่าทรัพย์สินทั่วไปนั้นจะเป็นทรัพย์อันเป็นวัตถุแห่งหนี้ได้ 2กรณี
กรณีที่1 ลูกหนี้ได้กระทำการอันตนจะพึงต้องทำเพื่อส่งมอบทรัพย์สินนั้นทุกประการแล้ว เช่น ลูกค้ามาซื้อข้าวสาร 2กระสอบ จากข้าวสารในร้านที่มีมากมาย ผู้ขายได้จัดการขนข้าวสารจำนวน 2กระสอบ ขึ้นรถของลูกค้าแล้ว เช่นนี้ ข้าวสารจำนวน 2กระสอบบนรถนั้นก็เป็นทรัพย์อันเป็นวัตถุแห่งหนี้
กรณีที่2 ลูกหนี้ได้เลือกกำหนดทรัพย์แล้วด้วยความยินยอมของเจ้าหนี้ เช่น มีลูกค้ามาซื้อลูกสุขัขจากฟาร์มเลี้ยงสุนัข เมื่อเจ้าของฟาร์มได้เลือกลูกสุนัขที่ลูกค้าเห็นชอบแล้ว ลูกสุนัขตัวนั้นก็เป็นทรัพย์อันเป็นวัตถุแห่งหนี้ตั้งแต่เวลานั้น
ทรัพย์ที่จะส่งมอบเป็นเงินตรา
กรณีหนี้เงินได้แสดงไว้เป็นเงินต่างประเทศ ปพพ.มาตรา196
เช่น ซื้อเหรีญกษาปณ์เก่าที่หายากสมัยประธานธิบดีลิงคอล์น รือซื้อธนบัตรบางรุ่นที่มีจำนวนน้อยมีหลายเลขพิเศษ เช่นนี้ต้องถือว่าการชำระหนี้เป็นการชระหนี้ด้วยย์เฉพาะสิ่งจะถือเป็นการชำระหนี้ที่แสดงเป็นเงินตราต่างประเทศและชำระด้วยเงินไทยตามมาตรา 196 มิได้
1.4กรณีวัตถุแห่งหนี้ซึ่งเลือกที่จะชำระได้
สิทธิในการเลือก ปพพ.มาตรา198 และมาตรา201 ถ้ากำหดไว้ให้ผู้ใดเป็นผู้เลือก (ปพพ.มาตรา198และมาตรา201)
ถ้าไม่ได้กำหนดไว้ว่าใครจะเป็นผู้เลือก (ปพพ.มาตรา198)
วิธีการเลือก
กรณีฝ่ายลูกหนี้หรือเจ้าหนี้เป็นผู้มีสิทธิเลือก ปพพ.มาตรา199 วรรคแรก
กรณีบุคลภายนอกเป็นผู้มีสิทธิเลือก ปพพ.มาตรา201 วรรคแรก
ระยะเวลาในการเลือก
ปพพ.มาตรา200
มีกำหนดระยะเวลาให้เลือก
กรณีมิได้กำหนดเวลาให้เลือก
ผลของการเลือก
ปพพ.มาตรา199วรรคสอง
กรณีการชำระหนี้บางอย่างเป็นพ้นวิสัย
ปพพ.มาตรา202
กรณีตกเป็นอันพ้นวิสัยจะทำได้มาแต่ต้น คือ การชำระหนี้บางอย่างพ้นวิสัยมาก่อนทำนิติกรรม แม้จะตกลงกันก็ย่อมตกเป็นโมฆะตามมาตรา150
กรณีการอันพึงต้องทำเพื่อชำระหนี้บางอย่างกลายมาเป็นพ้นวิสัยในภายหลัง
2 กำหนดเวลาชำระหนี้
หนี้ที่มิได้กำหนดเวลาชำระหนี้
ปพพ.มาตรา203
หนี้ที่มีกำหนดเวลาชำระหนี้
เช่นกำหนดตามวันเวลาปฏิทิน ตัวอย่าง ยืมเสื้อครุยเพื่อไปรับปริญญาจะส่งคืนเมื่อรับปริญญาเสร็จ ก็ถือเป็นการกำหนดโดยชัดแจ้งคือมีการตกลงกันระหว่างคู่กรณีที่ก่อหนี้ขึ้นก็ได้
กำหนดเวลาชำระแต่เป็นที่สงสัย เช่น เจ้าหนี้เรียกให้ชำระหนี้ก่อนกำหนด
กำหนดเวลาชำระหนี้ไว้ไม่เป็นที่สงสัย
กำหนดเวลาชำระหนี้ตามวันแห่งปฏิทิน ปพพ.มาตรา204วรรคสอง
กำหนดเวลาชำระหนี้มิใช่ตามวันแห่งปฏิทิน ปพพ.มาตรา204 วรรคแรก
นายก้าวไกล บำรุงหมู่ 63012310063
เลขที่16วิชากฎหมายลักษณะหนี้