Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคฉี่หนู Leptospirosis - Coggle Diagram
โรคฉี่หนู Leptospirosis
สาเหตุ
-
-
เท้าขวาโดนเศษแก้วที่ถูกทิ้งกองรวมกับขยะข้างหนองบอนบาด จึงทําให้เป็นแผลมีเลือดออก ไม่ได้ไปรับการรักษาที่ใด
-
อาการ
-
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ มีไข้สูง หนาวสั่น รู้สึกเหนื่อยล้า ปวดกล้ามเนื้อหรือข้อต่อ ปวดกล้ามเนื้อหรือข้อต่อ ตาแดงหรือระคายเคืองที่ตา มีผื่นขึ้น ไม่อยากอาหาร ท้องเสีย
ภาวะแทรกซ้อน
ไตวาย ภาวะเลือดออกจากการอักเสบของผนังหลอดเลือด โดยเฉพาะเลือดออกในทางเดินอาหารและในปอดและอาจมีดีซ่านร่วมด้วย นอกจากนี้อาจพบภาวะตับวาย ปอดอักเสบ เยื่อบุหัวใจอักเสบ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ เป็นต้น
-
-
พยาธิสภาพ
มาจากการสัมผัสโดยตรงกับปัสสาวะของสัตว์นำโรคที่มีเชื้อหรือสัมผัส โดยอ้อมกับน้ำหรือดินที่ปนเปื้อนเชื้อ เมื่อเข้าสู่ทางผิวหนังหรือเยื่อบุที่มีแผล
เชื้อจะเข้าสู่กระแสเลือดภายใน 24 ชั่วโมงและกระจายไปตามอวัยวะต่างๆ เนื่องจากเชื้อสามารถเคลื่อนไหวได้อย่างรวดเร็ว จึง
ไม่มีการอักเสบที่ตำแหน่งทางเข้าของเชื้อ แต่จะทำให้มีหลอดเลือดฝอยแตกและมีเลือดออกในอวัยวะต่างๆได้ หลังจากนั้นจึงทำให้การทำงานของอวัยวะต่างๆเสียไป จากการอักเสบและเนื้อตายตามอวัยวะนั้นๆ
พยาธิกําเนิดและพยาธิสภาพของเชื้อเลปโตสไปโรซีสต่อไต
เชื้อจะเข้าสู่กระแสเลือด ภายหลังจากได้รับเชื้อภายใน24ชั่วโมง โดยไตเป็นอวัยวะที่ได้รับอันตรายจากเชื้อได้สูง เนื่องจากมีปริมาณเลือดมาเลี้ยงสูง โดยส่วนประกอบของเชื้อที่มีบทบาทสําคัญที่ทําให้เกิดภาวะไตวายเฉียบพลัน
-
แนวทางการรักษาโรค
โดยมากโรคฉี่หนูมักไม่มีอาการรุนแรงและหายดีได้เอง หรืออาจรักษาด้วยยาปฏิชีวนะอย่างยาเพนิซิลลิน (Penicillin) หรือดอกซีไซคลิน (Doxycycline) เป็นระยะเวลา 5-7 วัน ซึ่งควรต้องรับประทานตามกำหนดให้ครบถ้วนแม้อาการจะดีขึ้นแล้วก็ตาม
ผู้ป่วยโรคฉี่หนูแบบรุนแรงจะต้องนอนพักที่โรงพยาบาล และรักษาอาการติดเชื้อด้วยการฉีดยาปฏิชีวนะเข้าไปในกระแสเลือดโดยตรง และหากมีอวัยวะใด ๆ ที่เสียหายจากการติดเชื้อ ทำให้ไม่สามารถใช้หรือทำหน้าที่ตามปกติได้ก็อาจจำเป็นต้องใช้เครื่องมือต่าง ๆ เข้าช่วย