Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อาการแพ้ท้องอย่างรุนแรง Hyperemesis Gravidarum - Coggle Diagram
อาการแพ้ท้องอย่างรุนแรง
Hyperemesis Gravidarum
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
ด้านมารดา
hCG สูง
มีประวัติของการเกิดภาวะ hyperemesis gravidarum
มีความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร
ติดเชื้อ Helicobacter pylori
ด้านทารก
hydrops fetalis
trisomy 21
อาการและการแสดง
คลื่นไส้ อาเจียนรุนแรง ต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน
น้ำหนักลดลงมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 5เมื่อเทียบกับน้ำหนักตัวก่อน ตั้งครรภ์
มีอาการแสดงของการขาดน้ำ(dehydration)
ลมหายใจมีกลิ่นอะซิโตน
ตรวจพบ ketonuria
บางรายอาจมีอาการแสดงของภาวะวิตกกังวล ภาวะซึมเศร้า
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ
ระยะเวลาที่เริ่มมีอาการ จำนวนครั้ง ความถี่
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจเลือด มีการเพิ่มสูงขึ้นของ BUN , creatinine และ เอนไซม์ของตับ การลดต่ำลงของ K (hypokalemia) และNa ตรวจปัสสาวะ พบว่า ketonuria
การตรวจร่างกาย
ผิวหนังแห้งและขาดความตึงตัว ริมฝีปากแตก ลม หายใจมีกลิ่นอะซิโตน
การตรวจพิเศษ
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง เพื่อหาความผิดปกติ เช่น การตั้งครรภ์แฝด ครรภ์ไข่ปลากอุก
ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพ
ผลต่อสตรี
ด้านร่างกาย
น้ำหนักตัวลดลง เกิดภาวะขาดสารอาหาร ภาวะขาดน้ำ hypokalemia เกิดความไม่สมดุลของภาวะกรด-ด่างในร่างกาย อาจ เกิดกลุ่มอาการ wernicke’s encephalopathy เนื่องจากขาดวิตามิน B1 โดยจะมีอาการ opthalmoplegia , gait ataxia และสับสน
ด้านจิตใจ
เกิดความวิตกกังวล ภาวะซึมเศร้า เกิดความรู้สึกสูญเสียการควบคุมตนเอง เนื่องจากมีอาการอ่อนเพลียอย่างมาก
ผลต่อทารก
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ พิการหรือทารกตายในครรภ์
การรักษา
1.ให้ 5% D/NSS 1,000 มิลลิลิตร ทางหลอดเลือดดำ แก้ไขK Na ต่ำ
2.ให้ยาแก้อาการคลื่นไส้ ได้แก่ promethazine (Phenergan) 25 mg IV IM
3.ให้ droperidol (Motilium) 2.5 mg IM หรือ metoclopramide 10 mg IM
ให้ยาคลายกังวล และยานอนหลับ ได้แก่ Diazepam 2-5 mg 1 เม็ด
ให้วิตามิน B6 50 mg 1 เม็ด รับประทานอาการก่อนวันละ 3 ครั้ง
แนะนำการรับประทานอาหารอ่อนครั้งละน้อย แต่บ่อยครั้ง หลีกเลี่ยงอาหารมัน และหลีกเลี่ยงกลิ่น อาหารที่ทำให้คลื่นไส้
การพยาบาล
1.ดูแลให้ได้รับยาแก้อาเจียน
2.งดอาหารและน้ำทางปาก
3.ให้ได้รับสารละลายทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
4.เมื่ออาการดีขึ้นแนะนำเรื่องการรับประทานอาหาร การพักผ่อนอย่างเพียงพอ วิธีการผ่อนคลาย การออกกำลังกายที่เหมาะสม
5.อธิบายให้สามีและครอบครัวเข้าใจเกี่ยวกับอาการที่เกิดขึ้นและให้ช่วยสนับสนุน ดูแลช่วยเหลือสตรี