Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินอันตรายจากการสัมผัสสารเคมี ในโรงงานอุตสาหกรรม - Coggle Diagram
การประเมินอันตรายจากการสัมผัสสารเคมี
ในโรงงานอุตสาหกรรม
สิ่งคุกคามสุขภาพอนามัย (Health Hazard)
Chemical Health Hazards
ฝุ่น (dust) ก๊าซ (gases) ขี้เถ้า (ash) ละอองไอ (mist) ไอควัน (fume) ควัน (smoke) เขม่า (soot) ตัวทาละลาย (solvents) ไอระเหย (vapor)
Physical Health
Hazards
ความร้อน แสง เสียง ความสั่นสะเทือน รังสี ความกดดันบรรยากาศ
Biological Health Hazards
แบคทีเรีย ไวรัส ปรสิต เชื้อโรคต่าง ๆ พยาธิ ปัสสาวะ น้ำลายสัตว์
Ergonomics Health Hazards
ชั่วโมงการทำงาน
ตำแหน่ง ค่าตอบแทน ความเครียด การยศาสตร์
สัมพันธภาพระหว่างบุคคล ท่าทางการทางาน
การประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพ
สิ่งคุกคาม (Hazard) หมายถึง สถานการณ์ สารเคมี หรือสิ่งใดๆ ที่มีศักยภาพก่อให้เกิดการบาดเจ็บ การเจ็บป่วย หรือผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน
ความเสี่ยง (Risk) หมายถึง ความเป็นไปได้ที่จะเกิดอันตรายต่อร่างกาย หรือเกิดผลกระทบต่อสุขภาพ จากการสัมผัสกับสิ่งคุกคามต่าง ระดับของความเสี่ยงขึ้นอยู่กับ
โอกาสที่สิ่งคุกคามจะทำให้เกิดอันตราย
ความรุนแรงของอันตรายที่เกิดขึ้น
วิธีการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
การประเมินผลกระทบเชิงปริมาณ (Quantitative Health Risk Assessment)
การประเมินความเสี่ยงที่แสดงผลในเชิงตัวเลข ใช้ในการประเมิน ผลกระทบจากมลพิษที่ทราบปริมาณการรับสัมผัสและมีค่าความปลอดภัยหรือค่ามาตรฐานสำหรับใช้ในการคานวณค่าความเสี่ยง
Health Risk Assessment: US EPA (1999)
Hazard identification (การบ่งชี้ความเป็นอันตราย/การระบุสิ่งคุกคาม)
เพื่อบ่งชี้ว่าสารเคมีนั้นๆ มีความเป็นพิษมากน้อยเพียงใดและมีผลต่อสุขภาพมนุษย์หรือไม่
เป็นการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อสรุปว่าสารเคมีที่กาลังสนใจอยู่นั้นมีผลเสียต่อสุขภาพอนามัยหรือไม่ อย่างไร
ข้อมูลจากการศึกษาในสัตว์ทดลอง การศึกษาความเป็นพิษ: แบบเฉียบพลัน กึ่งเรื้อรัง และเรื้อรัง
ข้อมูลจากการศึกษาในมนุษย์ การศึกษาทางระบาดวิทยา
ข้อมูลจากการศึกษาอื่นๆ การศึกษาในหลอดทดลองในเซลล์
Dose-response assessment (การประเมินการตอบสนองต่อปริมาณการได้รับสัมผัส)
เพื่อนำไปสู่การหาค่ามาตรฐานที่ปลอดภัยในมนุษย์เพื่อให้ได้ค่าอ้างอิง โดยทาการทดลองในสัตว์ทดลอง
การหาความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของการสัมผัสกับโอกาสของการเกิดผลเสียด้านสุขภาพ
เป็นขั้นตอนการหาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณการได้รับสัมผัสและความรุนแรงของความเป็นพิษ (Dose-response relationship)
Risk Characterization
(การอธิบายลักษณะความเสี่ยง)
ความเสี่ยงจากสารเคมีชนิดที่ไม่ใช่สารก่อมะเร็ง
(Non-carcinogen)
การคำนวณค่าความเสี่ยงในรูป Cancer risk
การประเมินผลกระทบเชิงคุณภาพ (Qualitative Health Risk Assessment)
การประเมินโดยใช้ตารางความเสี่ยงต่อสุขภาพที่ใช้การคาดการณ์ถึงโอกาสและความรุนแรงของผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น
Health Risk Matrix: WHO (2004), กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (2552) และ กระทรวงอุตสาหกรรม (2555)
เป็นการประเมินโอกาสการเกิดผลกระทบจากสิ่งคุกคามที่ไม่สามารถระบุ ปริมาณการรับสัมผัสหรือประเมินผลกระทบเป็นตัวเลขได้ และ ใช้ ตาราง ความเสี่ยง ทางสุขภาพเป็นเครื่องมือในการประเมินระดับของผลกระทบ โดยพิจารณาจาก
ความถี่ / โอกาสการได้รับสัมผัส / โอกาสเกิดสถานการณ์
ความรุนแรงของผลกระทบ
1.กลุ่มผู้ปฏิบัติงานที่สัมผัสสารเคมีอันตรายคล้ายกัน (similar exposure group, SEG)
2.ค่าขีดจากัดสารเคมีที่สัมผัสได้ในสถานที่ทางาน (Occupational Exposure Limit, OEL) อาจกาหนดค่าเป็นค่าขีดจากัดสารเคมีที่สัมผัสได้ในสถานที่ทางาน (Threshold Limit Value, TLV) หรือค่าขีดจากัดสารเคมีที่ยอมให้สัมผัสได้ในสถานที่ทางาน (Permissible Exposure Limit, PEL)
3.ค่าขีดจากัดความเข้มข้นเฉลี่ยของสารเคมีในอากาศตลอดเวลาการทางาน (Occupational Exposure-Limit Time-Weighted Average, OEL-TWA) ค่าความเข้มข้นเฉลี่ยของสารเคมีในอากาศตลอดเวลาการทางาน โดยทั่วไปคือวันละ 8 ชั่วโมง สัปดาห์ละ 5 วัน
4.ขีดจากัดของผู้ปฏิบัติงานระยะสั้นๆ (Short-Term Exposure Limit; STEL หรือ OEL-STEL) ค่าความเข้มข้นเฉลี่ยของสารเคมีที่พนักงานสัมผัสได้ไม่เกินวันละ 4 ครั้ง ในระยะเวลาไม่เกินครั้งละ 15 นาที และ แต่ละครั้งต้องห่างกันอย่างน้อย 1 ชั่วโมง
5.ค่าขีดจากัดสูงสุด (Ceiling, C หรือ OEL-C) ค่าความเข้มข้นสูงสุดของสารเคมีในอากาศที่ผู้ปฏิบัติงานสัมผัสได้ในขณะปฏิบัติงาน
Dose-response relationship
ปริมาณสาร (Dose) หมายถึง ปริมาณของสารเคมีที่เข้าสู่ร่างกาย
การตอบสนอง (Response) หมายถึง ปฏิกิริยาของร่างกายหรือการแสดงออกของร่างกายที่ตอบสนองออกมาหลังจากได้รับการกระตุ้นจากสารเคมี
Threshold ของสารเคมี
ขนาดสิ่งคุกคามระดับต่าจะก่อให้เกิดการทาลายของเซลล์ไม่มากนักซึ่งสิ่งมีชีวิตชนิดนั้นทดแทน/ซ่อมแซมได้ แต่ถ้าระดับสิ่งคุกคามมีมากขึ้นและมีการทาลายเซลล์จนเกินขีดความสามารถทดแทนตัวเองได้อาการก็จะเริ่มปรากฏให้เห็น ”
NOEL (No observed effect level) = ระดับไม่พบผลเสีย มก/กก/วัน NOAEL (No observed adverse effect level) = ระดับไม่พบผลอันไม่พึงประสงค์