Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินสาธารณภัย และการพยาบาลฉุกเฉิน - Coggle Diagram
การประเมินสาธารณภัย และการพยาบาลฉุกเฉิน
การประเมินตามหลัก ABCD
B – Breathing ประเมินปัญหาการหายใจ
ประเมินจาก
อัตราการหายใจ
เส้นเลือดดำที่ลำคอโป่งพอง
บาดแผลที่ทรวงอก
การดึงรั้งกล้ามเนื้อช่วยหายใจ
ออกซิเจนที่ส่วนปลาย (<95 %)
การช่วยเหลือ
Needle Thoracocentesis ระหว่าง Ribs5,6 ใช้เข็มเบอร์ 16-18
T-side เพื่อลดและเพิ่มแรงดันในช่องปอดให้มีความสมดุลกัน
C – Circulation ประเมินการเสียเลือด
ประเมินจาก
การไหลเวียนส่วนปลาย
ผิวหนังซีด เย็น
ชีพจรเบาเร็ว (2ตำแหน่งขึ้นไปเพื่อเปรียบเทียบ)
ความดันโลหิต
กระดูกหัก ขนาดบาดแผล
การช่วยเหลือ
IV fluid กลุ่ม isotonic solution เช่น 0.9% NSS
CPR
Stop bleeding, Keep warm
A – Airway ประเมินปัญหาทางเดินหายใจ
ประเมินจาก
ไม่สามารถพูด/สื่อสารได้
หน้ายุบ คอแตก ลิ้นตก
ลำคอได้รับบาดเจ็บ/เกิด Cervical spine injury
ใส่ฟันปลอม หายใจมีเสียงStridor
การช่วยเหลือ
ให้ Oxygen mask with bag 10L/min
Open airway โดยการทำ Chin-lift maneuver หรือ Jaw thrust maneuver
On ETT / Oropharyngeal airway (ใช้สำหรับผู้ป่วยไม่รู้สึกตัวเพื่อกระตุ้นให้เกิด gag reflex)
D – Disability ประเมินปัญหาทางการเคลื่อนไหวและระบบประสาท
การช่วยเหลือ
ให้ Oxygen mask with bag 10L/min
ประเมินจาก
Glasgow Coma Scale (GCS)
pupillary size
นักศึกษาคิดว่าผู้ป่วยรายนี้จัดอยู่ในการคัดแยกผู้ป่วยฉุกเฉินTriage คะแนนเท่าไหร่ กลุ่มสีอะไร
รายที่ 2 ผู้ป่วยชายไทย นอนหมดสติอยู่บนถนน ลืมตาเมื่อเรียก แขนเหยียดออก พูดเป็นคำๆ ขาทั้งสองข้างไม่เท่ากัน
หายใจเร็ว อัตราการหายใจ 34 ครั้งต่อนาที ความดันโลหิต 74/50 มิลลิเมตรปรอท
ผู้ป่วยรายนี้ จัดอยู่ในการคัดแยกผู้ป่วยฉุกเฉิน Triage คะแนน 7 คะแนน โดยประเมินจาก อัตราการหายใจ 34ครั้ง/นาที คิดเป็น 3 คะแนน ค่าความดันโลหิต 74/51 มิลลิเมตรปรอท คิดเป็น 2 คะแนน ระดับความรู้สึกตัว ผู้ป่วยลืมตาเมื่อเรียก แขนเหยียดออก พูดเป็นคำๆ ( E3M2V3 ) คิดเป็น 2 คะแนน รวมคะแนนทั้งหมดเป็น 7คะแนน จึงอยู่ในกลุ่มผู้ป่วยสีแดง ( ผู้ป่วยที่ต้องการดูแลรักษาทันที )
รายที่ 3 ผู้ป่วยหญิงไทย มีสติรู้เรื่อง ความดันโลหิต 90/60 มิลลิเมตรปรอท แขนด้านขวางอผิดรูปไม่มีเลือดออก ไม่มีกระดูกโผล่
อัตราการหายใจ 28 ครั้ง/นาที ลืมตาได้เอง ขยับได้เอง พูดคุยได้ปกติ
ผู้ป่วยรายนี้ จัดอยู่ในการคัดแยกผู้ป่วยฉุกเฉิน Triage คะแนน 11 คะแนน โดยประเมินจาก อัตราการหายใจ 28ครั้ง/นาที คิดเป็น 4 คะแนน ค่าความดันโลหิต 90/60 มิลลิเมตรปรอท คิดเป็น 4 คะแนน ระดับความรู้สึกตัว ผู้ป่วยลืมตาได้เอง ขยับได้เอง พูดคุยได้ปกติ ( E4M6V5 ) คิดเป็น 4 คะแนน รวมคะแนนทั้งหมดเป็น 12 คะแนน จึงอยู่ในกลุ่มผู้ป่วยสีเขียว ( ผู้ป่วยที่สามารถรอได้นานเกิน 4 ชั่วโมง )
รายที่ 4 ผู้ป่วยหญิงไทย นอนไม่ได้สติหัวแบะ คลำชีพจรไม่ได้ ไม่ลืมตา ไม่ขยับ เรียกไม่ขาน ไม่หายใจ มีเลือดท่วมตัว แขนขางอผิดรูป
ผู้ป่วยรายนี้ จัดอยู่ในการคัดแยกผู้ป่วยฉุกเฉิน Triage คะแนน 0 คะแนน โดยประเมินจาก อัตราการหายใจ 0 ครั้ง/นาที คิดเป็น 0 คะแนน ค่าความดันโลหิต 0 มิลลิเมตรปรอท คิดเป็น 0 คะแนน ระดับความรู้สึกตัว ผู้ป่วยไม่ลืมตา ไม่ขยับ เรียกไม่ขาน ( E1M1V1 ) คิดเป็น 0 คะแนน รวมคะแนนทั้งหมดเป็น 0 คะแนน จึงอยู่ในกลุ่มผู้ป่วยสีดำ ( ผู้ป่วยที่เสียชีวิต มีอาการหนักหรือมีโอกาสรอดน้อย อาจเสียชีวิตได้แม้ได้รับการรักษาอย่างเต็มที่ )
รายที่ 1 ผู้ป่วยหญิงไทย นอนอยู่บนถนน ลืมตาเมื่อเรียก มีสติถามตอบรู้เรื่อง บอกตำแหน่งที่เจ็บได้ พบขาหักบริเวณหัวเข่าข้างขวา
ประเมินสัญญาณชีพได้ อัตราการหายใจ 9 ครั้ง/นาที อัตราการเต้นของหัวใจ 180ครั้ง/นาที ความดันโลหิต 92/58 มิลลิเมตรปรอท
ผู้ป่วยรายนี้ จัดอยู่ในการคัดแยกผู้ป่วยฉุกเฉิน Triage คะแนน 10 คะแนน โดยประเมินจาก อัตราการหายใจ 9 ครั้ง/นาที คิดเป็น 2 คะแนน ค่าความดันโลหิต 92/58 มิลลิเมตรปรอท คิดเป็น 4 คะแนน ระดับความรู้สึกตัว ผู้ป่วยลืมตาเมื่อเรียก มีสติถามตอบรู้เรื่อง บอกตำแหน่งที่เจ็บได้ ( E3M5V5 ) คิดเป็น 4 คะแนน รวมคะแนนทั้งหมดเป็น 10 คะแนน จึงอยู่ในกลุ่มผู้ป่วยสีแดง ( ผู้ป่วยที่ต้องการดูแลรักษาทันที )
นักศึกษาจะต้องเตรียมความพร้อมในการช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉินอย่างไรอะไรบ้าง
การวางแผนจัดการ(Planning)
แผนปฏิบัติการของหน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉินกู้ชีพกู้ภัย
แผนเตรียมความพร้อมรับอุบัติเหตุ,
แผนรับมือกับสถานการณ์ที่มีความเสี่ยง
แผนประสานความร่วมมือระดับตำบล/ระดับอำเภอ/ระดับเขต/ระดับจังหวัด/ระดับภาค
การเตรียมความพร้อมอุปกรณ์(Equipment)
อุปกรณ์/เครื่องมือทางการแพทย์(Medicalequipment)
อุปกรณ์ป้องกันตนเอง (Personal protective equipment)
การฝึกฝน(Training)
ระยะเกิดเหตุ (Response, Event phase)
การเผชิญกับเหตุการณ์ สามารถบริหารจัดการควบคุมสถานการณ์ฉุกเฉินและสามารถบัญชาการ สั่งการทันทีได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ช่วยลดความสูญเสียที่อาจจะเกิดขึ้น
ระยะหลังการเกิดเหตุ (Post event phase, Restoration phase)
ช่วยเหลือบรรเทาทุกข์แก่ผ้ปูระสบภัยร่วมกบัหน่วยงานต่างๆที่เกียวข้อง ทั้งภายในและภายนอก
นักศึกษาสามารถให้การรักษาเบื้องต้นในภาวะฉุกเฉินอย่างไร
ผู้ป่วยรายที่ 2 ชายไทย นอนหมดสติอยู่บนถนน ลืมตาเมื่อเรียก พูดเป็นคำๆ แขนขวาเหยียดออก ขาทั้งสองข้างไม่เท่ากัน หายใจเร็ว อัตราการหายใจ 34 ครั้งต่อนาที BP 74/60mmHg
1.ทำการประเมินคะแนน RTS = 7 คะแนน ผู้ป่วยสีแดง
2.ทำการประเมินแผลของผู้ป่วย และปฐมพยาบาลเบื้องต้น โดย
2.1 เปิดทางเดินหายใจโดยการทำ Jaw thrust
2.2การทำ Pelvie binder
-จัดท่าผู้บาดเจ็บนอนหงาย เหยียดขาทั้งสองข้างในจุดที่ปลอดภัย
-ใช้อุปกรณ์สอดเข้าใต้เข่าแล้วเลื่อนขึ้นจนขอบบนของอุปกรณ์ถึงสะโพกแล้วรัดชั้นที่ 1 ให้แน่น
-เลื่อนตสายรัดชั้นที่ 2 ให้ตรงกับปุ่มใหญ่กระดูกต้นขา แล้วรัดชั้นที่ 2 ให้แน่น
-ล็อคด้วยสายรัดชั้นที่ 3 พร้อมทั้งดึงให้แน่นกระชับพอสมควร
-รัดเข่าและข้อเท้าด้วยสายรัดตามขนาดความยาวของสายรัด ยกเคลื่อนย้ายด้วย Long spinal bord
ผู้ป่วยรายที่ 1 เคสหญิงไทย นอนอยู่บนถนน ลืมตาเมื่อเรียก มีสติถามตอบรู้เรื่อง บอกตำแหน่งที่เจ็บพูด พบขาหักบริเวณหัวเข่าข้างขวา ประเมินสัญญาณชีพได้ อัตราการหายใจ 9 ครั้งต่อนาที ชีพจร 180ครั้ง/นาที ความดันโลหิต 92/58 มิลลิเมตรปรอท
4.เริ่มทำCPR
5.รัดเข่าและข้อเท้าด้วยสายรัดตามขนาดความยาวของสายรัดยกเคลื่อนย้ายด้วย long spinal bord
3.load iv isotonic solution 0.9%nss
6.นำผู้ป่วยส่งโรงพยาบาล
ใส่tube เพราะการหายใจไม่ดีชีพจรไวกำลังช็อคให้สารน้ำ
1.เปิดทางเดินหายใจโดยการทำ Jaw thrust
ผู้ป่วยรายที่ 3 หญิงไทย2คนคนที่1นอนไม่ได้สติหัวแบะ คลำpulseไม่ได้ เรียกไม่ตอบ e1m1v1 ไม่หายใจ มีเลือดท่วมตัวแขนขางอผิดรูป คนที่ 2 มีสติรู้เรื่อง ความดัน 90/60 mmHg แขนด้านขวางอผิดรูปไม่มีเลือดออก ไม่มีกระดูกโผล่ หายใจ28 ครั้ง/นาที
3.ประเมินบาดแผลทั่วร่างกายของผู้ป่วยสีเขียวว่ามีการบาดเจ็บบริเวณไหน โดยพบว่ามีแขนขวางอผิดรูป ไม่มีกระดูกโผล่และไม่มีเลือดออก และได้ทำการตรวจช่องท้องโดยกดหน้าท้องเพื่อดูว่าภายในช่องท้องมีเลือดออกไหม
4.ทำการปฐมพยาบาลเบื้องต้นโดยการนำผ้าขนาดใหญ่สองผืน โดยผืนที่ 1 นำมาผูกบริเวณต้นแขนแนบชิดลำตัวเพื่อป้องกันไม่ให้ส่วนที่ผิดรูปเสียดสีกันมากกว่าเดิม และใช้ผ้าผืนที่ 2 มาประคองบริเวณแขนส่วนปลายโดยผูกคล้องคอผู้ป่วยไว้เพื่อตรึงกระดูกส่วนที่หักไม่ให้เคลื่อนไหวเพื่อป้องกันไม่ให้ส่วนที่หักเสียดสีกัน
หลังจากทำการประเมิน RTS จึงได้ทำการปล่อยผู้ป่วยประเภทสีดำแล้วไปให้การพยาบาลผู้สีเขียวแทน
1.ทำการประเมินคะแนน RTS หญิงไทยคนที่1 ได้ 0 คะแนน (สีดำ) หญิงไทยคนที่ 2 ได้ 12 คะแนน (สีเขียว)
เมื่อเกิดสาธารณภัยหมู่ จะประเมินอะไรเป็นอันดับแรก
ประเมินข้อมูลเบื้องต้น ณ จุดเกิดเหตุ โดยเหตุการณ์นี้เป็นอุบัติเหตุรถซาเล้งแหกโค้งมีผู้บาดเจ็บ 5 รายกระเด็นตกน้ำ 1 ราย นอนอยู่บนถนน 4 ราย ประเมินสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างแรกโดยประเมินจากสถานการณ์ ดูว่าบริเวณนั้นปลอดภัยหรือไม่ มีรถสัญจรไปมาหรือไม่ ถ้ามีต้องทำการโบกรถให้รถเปลี่ยนเส้นทางไปทางอื่น และประเมินจำนวนผู้ป่วย คัดแยกประเภทผู้ป่วยตามลำดับความรุนแรงเร่งด่วนในการรักษา ให้การรักษาพยาบาลเบื้องต้น และย้ายผู้ป่วยไปอยู่ในที่ปลอดภัย
นักศึกษาสามารถฟื้นคืนชีพผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินอย่างไร
คือ เปิดทางเดินหายใจ เปิดทางเดินหายใจให้โล่งในรายที่หมดสติให้เปิดทางเดินหายใจด้วยมือด้วยวิธี jaw thrust maneuver ซึ่งจะทําในช่วงแรกก่อนใส่ท่อช่วยหายใจและก่อนใส่เผือกดามคอชนิดแข็ง
การช่วยฟื้นคืนชีพ
ประเมินสิ่งแวดล้อมความปลอดภัยก่อนช่วยเหลือ
ประเมินความรู้สึกตัว
เรียกให้คนช่วยโทร 1669
ประเมินการหายใจและจับชีพจรที่คอและการเคลื่อนไหวที่ท้อง
วัดตำแหน่งวางมือ โดยวางส้นมือลงไป ขนานกับแนวกึ่งกลางหน้าอก (กึ่งกลางระหว่างหัวนมทั้งสองข้างของผู้ป่วย) วัดจาก xiphoid process แล้วนำมืออีกข้างมาประกบ ประสานนิ้วและทำการลือคนิ้ว กระดกข้อมือขึ้น โดยให้สันมือสัมผัสกับหน้าอกเท่านั้นโน้มตัวมาให้แนวแขนตั้งฉากกับหน้าอกของผู้ป่วย
จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนราบพื้นแข็ง
กดหน้าอกลีก 5-6 ชม. จํานวน 30 ครั้ง/การช่วยหายใจ 2 ครั้งผ่านชุดช่วยหายใจ (resuscitation-masks-sets)
กดเร็ว 100-120 ครั้งหรือจนกว่าจะมีการส่งต่อ
การให้สารน้ําทางหลอดเลือดดํา
เปิดเส้นเลือดดําด้วยเข็มเบอร์ 18 พร้อมให้สารน้ําแก่ผู้บาดเจ็บ ชนิด 0.9 NSS 100 ml vein Load หาก ผู้บาดเจ็บอยู่ในระยะช็อก และปรับอัตราไหลให้มากกว่า 200 มิลลิลิตร/ชั่วโมง หากพบว่าเสียเลือดมากพร้อมให้ยา กระตุ้นการทํางานของหัวใจตามแพทย์สั่งตามมาตรฐานการช่วยฟื้นคืนชีพ
การยึดตรึงแนวกระดูกสันหลัง (Immobilize C-spine), การดาม (Splint/Slab) กรณีที่สงสัยว่าผู้บาดเจ็บ น่าจะมีการบาดเจ็บของกระดูกสันหลัง หรือกระดูกอุ้งเชิงกรานหักแนะนําให้ใช้วิธียกและเคลื่อนย้ายผู้ป่วยจาก เตียงด้วย scoop และ vacuum mattress แทนการใช้ spinal board ซึ่งทําให้ผู้ป่วยเจ็บปวดได้มาก และกรณี กระดูกเชิงกรานหักการใช้ spinal board นั้นต้องมีการรัดผู้บาดเจ็บแน่นในตําแหน่งอุ้งเชิงกรานจะทําให้ผู้บาดเจ็บ เสียเลือดมากขึ้น