Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปการเรียนของหมอกําพล ครั้งที่ 2, นางสาวมณฑิตา สุขเอี่ยม ชั้นปีที่ 4…
สรุปการเรียนของหมอกําพล ครั้งที่ 2
Head injury
Direct injury
Static head injury
การบาดเจ็บโดยตรงขณะศีรษะอยูนิ่ง
ถูกตี/ถูกยิง
พยาธสิ ภาพเกิดขึ้นเฉพาะที่หรือสมองอาจเกิดการสั่น สะเทือนอย่างรุนแรง
dynamic head injury
ขณะศีรษะเคลื่อนที่
อุบัติเหตุ motocycle ขณะขับขี่
Indirect injury
การตกจากที่สูง/การเคลื่อนไหวของลําตัวอย่างรวดเร็ว ศีรษะขาดการรองรับ
พบได้ในอุบัติเหตุจากพวกอาชีพนักกีฬาต่างๆ
พยาธิสรีสภาพ
Primary head injury
เกิดทันทีที่มีแรงกระทบต่ออวัยวะชั้นต่างๆ
Secondary head injury
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดหลังจากการบาดเจ็บ ระยะเวลาเป็นนาทีชั่วโมงหรือเป็นวัน
Massive bleed
พบได้ในกลุ่มกระดูก maxillofacial FX
Rx.
Anterior nasal packing + posterior nasal packing
fluid resuscitaion
Blood component and correct coagulopathy
Significant Mass effect
Midline shift of 5 mm or more
Marked effacement of ventricle and / or basilar cistern
Intracranial mass of 3 cm. in diameter or more
ต้องปรึกษา neurosurgeon เพื่อพิจารณาผ่าตัด
Indications for surgical treatment
1.Clinical syndromes of herniation
show significant mass effect ( Increase ICP sign)
Moderate and severe head injury or Clinical syndrome with CT scan
3.Compound depressed skull fracture
4.Penetrating cranial injury
5.Close depressed skull fracture > 1 cortex
6.Optic nerve compression
7.Post traumatic hydrocephalus
8.Persistent CSF rhinorrhea and otorrhea
การดูแลพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ และผ่าตัดสมอง
ติดตามดูสัญญาณชีพ
ติดตามดูการหายใจ และระดับ oxygen
เฝ้าระวังอย่าให้มีไข้
ดูแล drain ทําความสะอาด record ปริมาณ fluid และประเมินสี
ติดตามดูอาการสัญญาณทางระบบประสาท
ประเมิณ motor power / sensory
เฝ้าระวงัภาวะ aspiration เมื่อเริ่ม step diet
จัดหัวสูง 30 องศา
ให้ยาแก้ปวด ยาแก้อาเจียน ยากันชัก ยาลดสมองบวม
ติดตามผล lab ต่างๆ
อาการผิดปกติที่ต้องกลับมาพบแพทย์ในกลุ่ม mild head injury
ง่วงซึม กระสับกระส่ายมาก กําลังของแขนและขาลดน้อยลงกว่าเดิม ชีพจรเต้นช้ามาก หรือมีไข้สูง คลื่นไส้อาเจียนมาก ปวดศีรษะรุนแรง
มีเลือดใสๆ หรือน้ำใสออกจากหูหรือลงคอ หรือออกจากหูคอแข็ง
intracraniel injury
เคสอุบัติเหตุต้องทําการ resuscitation ไม่ให้คนไข้ shock เพื่อไม่ให้ CBF
ลดจนเกิด Brain ischemia ตามมาภายหลัง
monitoring
ติดตามดูอาการอย่างใกล้ชิดอย่างน้อย 7 วัน
1 day เลือดออกเพิ่มเติมจากการบาดเจ็บ
3 day จากภาวะสมองบวม
7 day rebleed จากภาวะ thrombolysis
การบาดเจ็บที่สมองระยะที่สอง (secondary brain injury)
การบาดเจ็บซ้ำเติม 2 hit
Hypoxia/ischemia
Brain edema
Increase Intracranial pressure
สมองบวม
กลุ่มเลือดออก intraventicular เกิด CSF obstruction
Rebleeding
ภาวะ electrolyte imbalance hypoglycemia ทําใหเ้กิดการบาดเจ็บมากขึ้น
Chest injury
ประเมินเบื้องต้นตามหลัก ATLS
pathophysiology
การบาดเจ็บที่ทรวงอกทําเกิดภาวะ
impaired ventilation (อัตราการหายใจ)
impaired gas exchange at alveoli (ระดับ oxygen sat)
impaired circulation (ความดันโลหิต)
ส่งผลทําให้เกิดภาวะ hypoxia, hypercarbia และ acidosis เป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้
Immediate Life-threatening chest injuries
tension pneumothorax
ต้องวินิจฉัยได้จากการตรวจร่างกาย ไม่ควรรอ CXR
อาการ
เจ็บแน่นหน้าอก หายใจแบบ air hunger ความดันโลหิตต่ำ neck vein
distention เสียงปอดลดลงด้านที่เป็น
การรักษา>needle holder>ICD>CKR
Open pneumothorax
มีแผลเปิดขนาดใหญ่ 2/3 หรือมากกว่า เมื่อเทียบกับหลอดลม
ปวดบริเวณแผลด้วย sterile occlusive dressing: three side technique/ใส่ ICD
Flail chest
Definition หัก 2 ตําแหน่งติดกัน 3 rib หรือหักน้อยกว่าแต่เกิด มีภาวะ
paradoxical movement ร่วมด้วย
อาการ
หายใจเข้าออก มีอาการเจ็บ หอบเหนื่อย มีอาการตัวเขียว
Paradoxical movement of chest wall
เกิดความผิดปกติร่วม
hemothorax
pneumothorax
lung contusion
subcutaneous empyema
ให้Adequate ventilation/ให้ออกซิเจน/ให้สารน้ำ/ให้ยาแก้ปวด
เฝ้าระวัง Respiratory Failure
Massive Hemothorax
ได้เลือดทันที 1,500cc/continuing blood loss (200cc/hr.ตลอด2-4hr.)
ให้เลือดทดแทน ใส่ ICD อาจจะต้องทํา Emergency Thoracotomy
Cardiac Tamponade
มีภาวะ hypotension แต่ CVP สูง
วินิจฉัยต้องเร็ว
การรักษา
Immediate needle pericardiocentesis,urgen thoracoto
2.Potential Life-threatening chest injuries
ERT
ทําในผู้ป่วยที่มีchest injury ที่เกิด witness cardiac arrest ที่ ER หรือ CPR มาไม่เกิน 15 นาที
ไม่แนะนําทําใน blunt injury
เพื่อ control bleed
Rib fracture
คลําพบจุดกดเจ็บ มีรอยช้ำ หรือ บวมบรเิวณทรวงอก
Dx CXR
Conservative Rx
Pain control
F/u Cxr 12-24 ชม
เฝ้าระวัง Hemothorax ,pneumothorax and lung contusion
ติดตามดูการหายใจและระดับ oxygen sat %
Sternal fracture
พบในผู้ป่วยที่ประสบอุบัติเหตุรถยนต์
เกิดจากอกกระแทกพวกมาลัย
คลําพบ stepping หรือรอยช้ำ
Dx CXR กรณีสงสัย มีอาการบาดเจ็บอื่น พิจารณา CT
ให้เฝ้าระวัง Cardiac injury ร่วมด้วย/ EKG /ให้ยา pain control และเฝ้าระวัง futher injury เช่น เดียวกับ Fx rib
Simple Pneumothorax
ตรวจร่างกายพบ
decrease breath sound
hyperresonance on percussion
Subcutaneous empyema
Hypoxia
Rx ด้วย ICD และตาม F/u CXR
พิจารณาใหเ้ลือด pain control
พิจารณาผ่าตัดเมื่อเป็น
1 more item...
ถ้า conservative ไม่ดีขึ้นใน 2 สัปดาห์ให้ส่งพบ CVT
เพราะอาจมี laceration ของ lung หรือ bronchus injury
Great vessel injury
มีประวัติ severe mechanism injury ร่วมกับลักษณะผิดปกติทาง CXR
และ confirm ด้วยการ CTA ถ้าผู้ป่วย stable
Treatment
Open repair/ endovascular repair
Injury to Tracheobronchial tree
Clinical
Hemopthysis/persistent pneumothorax/Massive subcutaneous
empyema/atelectasis/Tension pneumothorax
ผ่าตัดเมื่อ
Failure conservative treatment
Massive air leakage
Injury to thoracic esophagus
Most common จาก penetrating injury
Investigation
CXRพบ pnemomediastinum
Lung contusion
Treatment
ให้ Oxygen ใหเ้พียงพอ /ให้IV ให้เพียงพอ แต่เฝ้าระวัง hypovolemia ypervolemia /Monitoring V/S ABG CXR/Pain
control/เฝ้าระวัง ARDS และแก้ภาวะแทรกซ้อน
ถ้าติดตาม CXR แล้วอาการไม่ดีขึ้นใน 10 วันพิจารณารักษาภาวะ pneumonia ร่วม
Diaphargmatic injury
วินิจฉัยได้จาก imaging และรักษาด้วยการผ่าตัด
Spinal injury
การตรวจร่างกาย
Vital sign
Head and Face กระดูกสันหลังส่วนคอ (cervical spine) หน้าอก
(chest) และท้อง (abdomen)
Investigation
C-spine
ถ้าด่วนมาก Lateral view
จะช่วยในการวินิจฉัยเป็นหลัก
CT
ใช้ระเมินเมื่อรอยโรคไม่ชัดจาก
x-rayโดยเฉพาะกลุ่ม C-spine
MRI
ประเมินSoft tissue ได้ดีกว่า โดยเฉพาะกลุ่ม
disc herniation
การดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังระยะก่อนถึงโรงพยาบาล
ดูแลระบบทางเดินหายใจให้โล่ง ระวังไม่ให้กระดูกคอเคลื่อนโดยการใส่ Philadelphia collar
ดูแลห้ามเลือดในที่เกิดเหตุ
จัดท่าให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่สบายและเจ็บปวดน้อยที่สุด
การเคลื่อนย้ายต้องใช้วิธิกลิ้งไปทั้งตัวแบบท่อนซุง (Log roll)
ใช้ Spinal board ในการขนส่งผู้ป่วย
ประเมินหลังภาวะ spinal shock
incomplete
สูญเสียอย่างใดอย่างหนึ่ง
complete cord lesion
สูญเสียการทํางานทั้งหมด ทั้งระบบ motor และ sensory ถาวร
Anterior cord lesion
สูญเสีย motor เป็นหลัก
Posterior cord lesion
สูญเสีย sensory เป็นหลัก
Hemi cord lesion
สูญเสีย motor ด้านตรงข้ามและสูญเสีย sensory ด้านเดียวกับรอยโรค
Central cord lesion
อ่อนแรงแขนมากกว่าขา เป็น most common lesion
Cauda equina syndrome
มีการเสียการทํางานของขาข้างใดข้างหนึ่ง ซึ่งมักพบในรอยโรคที่ต่ำกว่าระดับ lumbar lesion
หลักการรักษา
1.Imobilization
2.Resuscitation
3.Re-evaulation ประเมิน ATLS
4.DDx and confirm diagnosis
5.Consult or refer to speciallist for definit Rx
Thoracolumbar spine injury) T-L spine
เกิดจากการบาดเจ็บทางอ้อม
การรักษา
conservative
จัดให้นอนราบ บรรเทาอาการปวด
ถ้ากระดูกทรุดมากให้นอนท่าหลังแอ่น (postural reduction)ใส่เผือกประมาณ 3-4 เดือน
ถ้ามีการหักแล้วกดทับ หรือ dislocation ของกระดูกระดับ T-L spine
จนเกิดปัญหาต่อระบบประสาท
Neurological deterioration
เป็นข้อบ่งช้ที่ต้องผ่าตัดรักษา
Urinary retension
Definition
ปวดมากอย่างรุนแรง จากการที่มีการคั่งของปัสสาวะ (bladder full จนกดเบียด)
และสามารถบรรเทาอาการปวดด้วยการสวนปัสสาวะ
สาเหตุ
1.Bladder outflow obstruction
mechanical obstruction BPH,Tumor,stricture,stone
dynamic obstruction ยา,อาการปวด จนกล้ามเนื้อตึง
2.Neurogenic cause
กลุ่มโรคทางอายุรกรรม และระบบไขสันหลัง
Neurologic cause
พบบ่อยๆ คือกลุ่ม neurogenic bladder
stroke
Spinal disease
DM กลุ่มที่เริ่มมี neurogenic disease
จาก detrusor hyporeflexia จึงไม่มีความรู้สึกปวดปัสสาวะหรือขาดแรงเบ่ง
Multiple sclerosis
Parkinson disease
สาเหตุอื่นๆ
Post op complication จากการทํา spinal block
Severe pain
Pregnancy-Associated Urinary Retention
Most = GA 16
Post-partum
Urethra injury
BPH
รักษาด้วยกลุ่มยา
Alpha adrenergic blockers,prasozin Doxazosin,Tamsulosin
ใส่ Foley catheter ในกลุ่ม urinary tract Retention
ผ่าตัดในรายที่ ‘’TURP’’
failure medication treatment
แพ้ยา ทนผลข้างเคียงของยาไม่ไหว
ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ บ่อยครั้งโดยเฉพาะ Upper tract
เกิดปัสสาวะคั่งบ่อยครั้ง
TURP syndrome
เกิดภาวะ hyponatremia อย่างรวดเร็วหลังการผ่าตัด
เกิดได้15 นาที– 24 ชม
1 more item...
CA Prostate
PR จะพบ enlarge prostate
Hard consistency
Irregular nodule
มาด้วยอาการปัสสวาะลําบาก ปัสสาวะเป็นเลือด ปัสสาวะบ่อย
มักพบในผู้ป่วยอายุมากกวา่ 50 ปีที่มีประวัติครอบครัวเป็นมะเร็งต่อมลูกหมาก
การรักษา
การผ่าตัด
TRUP/Radical Prostatectomy/Robot Radical Prostatectomy/Orchidectomy
RT และการฝังแร่
ยา
Hormone therapy / Chemotherapy
นางสาวมณฑิตา สุขเอี่ยม ชั้นปีที่ 4 เลขที่ 55 รหัสนักศึกษา 62126301057