Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปการเรียนรู้ครั้งที่ 3 (หมอหนิง) - Coggle Diagram
สรุปการเรียนรู้ครั้งที่ 3 (หมอหนิง)
Pharyngitis - Asian Flu
Acute Pharyngitis
Viral
Symptoms
ไอหรือไม่ไอก็ได้หรือไอมาก
มีไข้หรือไม่มีก็ได้
มีน้ำมูก คัดจมูก
ตาแดง
ไม่ต้องให้ยาฆ่าเชื้อ
Bacteria พบบ่อยสุด (Group A β-Hemolytic Streptococcus) น้อยสุดอายุ 2 ปี
Symptoms
ไข้หนาวสั่น
เจ็บคอมาก กลืนเจ็บ
ปวดหัว คลื่นไส้ อาเจียน
ทอนซิลแดงจัด มีหนอง
จุดเลือดออกตามเพดานปวก
การวินิจฉัย
เจ็บคอร่วมกับ 3 อาการ พิจารณาให้ยาฆ่าเชื้อแก่ผู้ป่วย โรคหัวใจรูมาติคก์ และ Immunocompromised host
ไม่ไอ
มีไข้
มีจุดขาวหรือตุ่มหนองที่ทอนซิล
ต่อมน้ำเหลืองโต กดเจ็บ
FATT
Fever
Absence of cough
Tonsil exudate
Tender node
การรักษา Strep sore throat
Penicillin V
if BW < 27 kgs: 250 mg bid or tid x 10 days
if BW > 27 kgs : 500 mg bid or tid x 10 days
Amoxycillin
Amoxycillin 30-50 MKD tid pc x 10 days
ถ้าแพ้ให้เป็น Erythromycin
Erythromycin 40 MKD tid ac x 10 days
อายุมากกว่า 3 ปี (3-14 ปี)
การรักษา Acute Bacterial rhinosinusitis
อาการ
ไข้หวัด ไซนัสอักเสบ มากกว่าหรือเท่ากับ 10 วัน
ไข้มากว่า 39 ร่วมกับน้ำมูกเหลืองเขียว เจ็บบริเวณไซนัส
ไข้หวัด ไซนัสดีขึ้นแต่อาการแย่ลงอีก
ให้ยา
Amoxycillin
เด็กเล็ก 40 mg/kg/day ไม่เกิน 1500 mg/day TID
หรือ 45 mg/kg/day ไม่เกิน 500/ครั้ง BID
เด็กโต วัยรุ่น ผู้ใหญ่ 500 1*3 PC
แพ้ Penicillin
Adult ใช้ Roxithromicin
.ในเด็กเล็กErythromycin syr
TONSILLITIS
พบมากในเด็กเล็ก มักเกิดจากการติดเชื้อไวรัส
ในเด็กโตอายุ 5-15 ปี และผู้ใหญ่ มักเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย
อาการ
เจ็บคอ โดยเฉพาะตำแหน่งมุมขากรรไกร
ถ้าเป็นมาก อาจเจ็บร้าวไปที่หูได้
มีไข้ ปวดหัว
กลืนเจ็บ และกลืนลำบาก
อาการแสดง
บวมแดง มีหนอง
ต่อมน้ำเหลืองโต
ในเด็กเล็ก น้ำลายไหลมุมปาก ไม่ยอมกินอาหาร งอแง
การรักษา
ไวรัส
รักษาตามอาการ เช่น ให้ยาลดไข้ ยาพ่น ยาอมแก้เจ็บคอ
แบคทีเรีย
ให้ยาฆ่าเชื้อ 7-10 วัน
การผ่าตัดต่อมทอนซิล ในกรณีที่เป็นซ้ำ ๆ บ่อย ๆ เรื้อรัง หรือมีภาวะแทรกซ้อน
Avian Influenza ไข้หวัดนก
การสัมผัสสัตว์สู่คน และจากสารคัดหลั่ง เช่น อุจจาระ น้ำมูก น้ำตา น้ำลายของสัตว์ป่วย
อาการในคน
มีอาการทางระบบทางเดินหายใจแบบเฉียบพลัน
มีไข้สูง หนาวสั่น ปวดหัว
ปวดกล้ามเมื่อยกล้ามเนื้อ อ่อนเพลีย น้ำมูกไหล ไอ และเจ็บคอ
ตาแดง 2-7 วัน
ปวดบวม Respiratory failure ในเด็กเล็กและผู้สูงอายุ
การรักษาด้วยยาต้านไวรัส
Oseltamivir
Influenza (Orthomyxoviridae)
สาเหตุ
ชนิด A ทำให้เกิดการระบาดอย่างกว้างขวางในกรุงโซล
ชนิด B ระบาดในพื้นที่ภูมิภาค
ชนิด C เชื้ออ่อน ๆ ไม่เกิดการระบาด
ระยะฟักตัว
1-4 วัน
อาการ
ไอแห้ง
จาม
ปวดคอ
ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
คัดน้ำมูก
การติดต่อ
ไอ จามเอาฝอยละอองเข้าไป
การวินิจฉัย
Culture
ELISA
การรักษา
ย้าต้านไวรัส Oseltamivir
วิธีการป้องกัน
การฉีดวัคซีน
บุคคลากรทางการแพทย์
พิการทางสมอง
ธาลัสซีเมียและภูมิบกพร่อง
โรคอ้วนBMI > 35
ตั้งครรภ์ 4 เดือนขึ้นไป
เด็กอายุ 6 เดือน ถึง 2 ปีทุกคน
ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปอดอุดกั้นเรื้อรัง หอบหืด หัวใจ หลอดลเลือดสมอง
อายุ 65 ขึ้นไป
COVID-19
ลักษณะอาการ
ไอ 54 %
เจ็บคอ 37%
ไข้ 29%
ปวดกล้ามเนื้อ 15%
มีน้ำมูก 12%
ปวดศีรษะ 10%
เป็นไวรัส SARS CoV-2 ที่มีพันธุกรรมกลายพันธุ์หลายตำแหน่ง
การรักษา
ไม่มีอาการ
แยกตัวที่บ้าน
ไม่ให้ยาฟาวิ
ให้ยาฟ้าทะลายโจร
มีอาการไม่รุนแรง
ให้ฟาวิ
เจอตัวมากกว่า 5 วัน ไม่มีอาการไม่จำเป็นต้องให้ยา
กลุ่มเสี่ยง
อายุมากกว่า 60
โรคปอดอุดกั้น
ไตเรื้อรัง
โรคหัวใจและหลอดเลือด
โรคหลอดเลือดสมอง
เบาหวานควบคุมไม่ได้
ภาระอ้วน
ตับแข็ง
ภาวะภูมิคุ้มกันต่ำ
ผู้ติดเชื้อเอจไอวี
ผู้ป่วยปอดอักเสบ
ให้ฟาวิ 5-10วัน
ให้ฟาวิร่วมกับ คอลติสเตียรอย
หญิงตั้งครรภ์
ห้ามให้ฟาวิในไตรมาสที่ 1 ให้ยาตามกลุ่มเสี่ยง
การป้องกัน
Chikungunya
เกิดจากเชื้อ Chikungunyavirus (ย่อว่า CHIK V) เจอได้ในภาคใต้ มาจากยุงลายสวน Aedes aegypti
อาการ
ระยะฟักตัวของโรค :2-12 วัน ทั่วไป 4-17
ไข้เฉียบพลัน (มักมีไข้สูง 39-40 แต่บางรายก็เป็นไข้ต่ำได้)
ปวดศีรษะมำก คลื่นไส้ อำเจียน อ่อนเพลีย
ปวดข้อ
หลังจากนั้นจะเกิดผื่นบริเวณลำตัวและแขนขา
ไข้อาจจะหายในระยะนี้ (ระยะ 2-3 วันหลังเริ่มป่วย) ผื่นนี้จะลอกเป็นขุยและหายได้เองภำยใน 7-10 วัน
ต่อมน้ำเหลืองคอโต
อาการปวดข้อจะหำยภำยใน 2-3 วัน หรืออาจนานหลายสัปดาห์ และบางรายอาจเป็นเรื้อรังอยู่หลายเดือนได้
มีอาการแทรกซ้อนไม่รุนแรงที่ต่อระบบประสาท หัวใจ และทางเดินอาหาร
การวินิจฉัยโรค
ELISA
แยกเชื้อไวรัสจากเลือดผู้ป่วยระยะเริ่มมีอาการในช่วง 2-3 วันได้
RT-PCR
การรักษา
รักษาตามอาการ
ห้ามกินยาแอสไพริน รวมถึง NSAID อื่น เช่น Ibuprofen เลือดออกได้ง่ายขึ้น
เช็ดตัวลดไข้
การป้องกัน
ป้องกันยุงกัด
กำจัดลุกน้ำ
ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์
Zika Virus
สาเหตุ
Zika virus อยู่ในกลุ่มของ Flavivirus
ระยะฟักตัว
3 - 12 วัน โดยเฉลี่ย 4 - 7 วัน
พาหะนำโรค
ยุงลาย (Aedes aegypti)
การติดต่อ
ยุงลายที่มีเชื้อกัด
จากแม่สู่ลูก
Blood, Sex, Touch
Organ หรือ Tissue
อาการ
ผื่น ไข้ เยื่อบุตาอักเสบ
ปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดหัว
อาการป่วยจะปรากฏอยู่เพียง 4-5 วัน
อาการผิดปกติในทารก
ศีรษะเล็ก
พบแคลเซียลเกาะสมอง
ทารกตัวเล็กกว่าอยุครรภ์
การมองเห็นผิดปกติ
แพร่เชื้อได้ทุกไตรมาส
การรักษา
ไม่มียารักษาเฉพาะ รักษาแบบประคับประครอง
วิธีการป้องกัน
กำจัดลูกน้ำ
การพ่นเคมีกำจัดตัวยุง
ทายากันยุง
หลีกเลี่ยงการเดินทางไปประเทศที่มีการระบาด โดยเฉพาะหญิงตั้งครรภ์
Dengue
อาการ
ปวดศีรษะ
ปวดกระบอกตา
ปวดเมื่อยตามตัว กล้ามเนื้อ กระดูก ข้อ
ผื่น
จุดเลือดออก เลือดกำเดา อาเจียน ถ่ายเป็นเลือด สีดำ
เม็ดเลือดขาวต่ำ
เกล็ดเลือดต่ำกว่า 150000
Hct 10-20%
ตับโต
ช็อก
ไข้สูงลอย 2-7 วัน
ระดับความรุนแรง
เกรด 1 ไม่มีอาการเลือดออก ทูนิเก้ต์ ให้ผล+
เกรด 2 มีเลือดออกร่วมด้วย มีจุดเลือดออก เลือดกำเดาไหล อาเจียนเป็นเลือด
เกรด 3 ช็อก
เกรด 4 ช็อกนาน ความดัน/ชีพจรวัดไม่ได้ ตัวลาย เตัวเขียว
การดำเนินของโรค
ระยะไข้ 2-7 วัน
อาการ
ปวดศีรษะ คลื่นไส้อาเจียน เบื่ออาหาร ปวดท้อง อาการเลือดออก
ระยะวิกฤต 24-48 ชั่วโมง
มีการรั่วของพลาสม่า
การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
ระยะฟื้นตัว 3-7 วัน
การวินิจฉัย
Tourniquet test positive
WBC น้อยกว่า 5000
PPV 80 %
CBC
WBC น้อยกว่าหรือเท่ากับ 5000 ไข้จะลงใน 24 ชม.
Plt. น้อยกว่าหรือเท่ากับ 100000 เข้าสู่ระยะวิกฤต
Hct. เพิ่มขึ้น 10-20เปอร์เซนต์
ภาวะช็อก
ไข้ลง แต่ชีพจรเบาเร็ว
ความดันแคบ
Capilary refil มากกว่า 2 s
Delirium
ช็อกนาน
เกิน 10 ชั่วโมง ไม่ได้รับการรักษา = ตาย
เกิน 4 ชั่วโมง แล้วไม่ได้รับการรักษา
ตับวาย 50%
ตัววาย - โอกาสรอด 50 %
มากกว่า 3 organs faillure
การรักษา
ให้สารน้ำ
ผู้ป่วยที่อาเจียนมาก
มีภาวะขาดน้ำ
มีการรั่วของพลาสม่า เกล็ดเลือด น้อยกว่า 100000
Malaria
ยุงพาหะ
ยุงพาหะรอง (secondary vectors)
ยุงก้นปล่องชนิดซันไดคัส (Anopheles sundaicus)
ยุงก้นปล่องชนิดอโคไนตัส (Anopheles aconitus)
ยุงก้นปล่องชนิดซูโดวิวโมไร(Anopheles pseudowillmori)
ยุงพาหะหลัก (primary vectors)
ยุงก้นปล่องชนิดมินิมัส (Anopheles minimus)
ยุงก้นปล่องชนิดแมคคูลาตัส (Anopheles maculatus)
ยุงก้นปล่องชนิดไดรัส (Anopheles dirus)
เชื้อ Plasmodium
Plasmodium malariae
Plasmodium ovale
Plasmodium vivax
Plasmodium falciparum
การติดต่อ
ยุงก้นปล่องมีเชื้อมาลาเรียกัด
ปล่อยเชื้อสู่กระแสเลือดคน
ติดต่อจากมารดาที่เป็นมาลาเรีย
การถ่ายเลือด
อาการ
ระยะฟักตัว
P. falciparum จับไข้ทุก 36-48 ชั่วโมง
P.vivax, P.ovale จับไข้ทุก 48 ชั่วโมงหรือจับวันเว้นวัน
P. malariae จับไข้ทุก 72ชั่วโมงหรือวันเว้นสองวัน
ไข้ 3 ระยะ
ระยะร้อน (hot stage) 2 ชั่วโมง อาการร้อน อุณหภูมิร่างกายสูงขึ้น 39-40องศาเซลเซียส ชีพจรแรง ปวดกระบอกตา หน้าแดง ผิวหนังแดงและแห้ง กระหายน้ำ
ระยะเหงื่อออก (sweating stage) ระยะนี้กินเวลาราว 1 ชั่วโมง ผู้ป่วยเริ่มมีเหงื่อออกตามหน้า บริเวณขมับ และผิวหนังลำตัว ต่อจากนั้นอุณหภูมิร่างกายลดลงอย่างรวดเร็ว
ระยะหนาว (cold stage) 15-60 นาที หนาวมาก มีอาการสั่นเกร็ง อุณหภูมิร่างกาย สูงขึ้น Pเบาเร็ว ความดันเพิ่ม คลื่นไส้ อาเจียน
การวินิจฉัย
ซักประวัติ ตรวจร่างกาย
ผลแลป Thick flim, thin film
ตรวจ Antigen, Antibody
Rapid test
PCR
การรักษา
Typhus
การติดเชื้อ Rickettsia สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
กลุ่ม spotted fever
กลุ่ม typhus
กลุ่ม scrub typhus
มีแมลงเป็นพาหะ (mite) เห็บ (tick) หมัด (flea) และ เหาตัว (body louse)
อาการ
มีไข้สูง ปวดศีรษะ +/- หนาวสั่น
มีผื่นแดงตามตัว
เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน ถ่ายเหลว
ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดตัว ปวดศีรษะ (ขมับ หน้าผาก)
ต่อมน้ำเหลืองโตอักเสบ
ถ่ายเหลว
ไอแห้งๆ
แผลขอบยกสีแดง มีสะเก็ดสีดำตรงกลาง
ที่เรียกว่า eschar
การวินิจฉัยโรค
ตรวจทางน้ำเหลือง (serology
การรักษา
Doxycycline 100 mg BID x 7 day, OR
Tetracycline 500 mg BID x 7 days, OR
Chloramphenicol (50-75 mg/kg/day) x 7 day, OR
Ciprofloxacin และOfloxacin
Leptospirosis
อาการ
อาการไม่รุนแรง
มีไข้
ปวดเมื่อยตามตัว
ปวดหัว
อาการรุนแรง
มีไข้
ตัวตาเหลือง
ไตวาย
เลือดออกผิดปกติ
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
อาการเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
อาการเลือดออกในปอดและการหายใจล้มเหลว
Herpes Simplex
เกิดจาก Herpes simplex virus
Primary Lesions
Vesicle ตุ่มน้ำใสของผิวหนังหรือเยื่อบุขนาดไม่เกิน 1 ซม
Bulla ตุ่มน้ำใสของผิวหนังหรือเยื่อบุขนาดใหญ่กว่า 1ซม.
Pustule vesicle หรือ bulla ที่ภำยในบรรจุด้วยหนอง
อาการ
กลุ่มของตุ่มน้ำ
แตกเป็นแผลตื้นๆ
เจ็บ ปวด แสบร้อน
แผลจะค่อยๆแห้งตกสะเก็ด
หายในระยะประมำณ 2-6 สัปดำห์
บางคนอาจมี มีไข้ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ
หรือ ต่อมน้ำเหลืองโต
การรักษาและการปฏิบัติตัว
โรคส่วนใหญ่ ไม่รุนแรง + หำยเองได้
ควรพักผ่อน + ดื่มน้ำมากๆ
ถ้ามีไข้ >> เช็ดตัวลดไข้ + กินยำ paracetamol
ถ้ำมีแผลในปำก >> ใช้น ้ำเกลือกลั้วปำก
ตัดเล็บสั้น ไม่แกะ/ เกำ
แผล << ใช้ผ้ำ gauze ชุบน้ำเกลือ/ น้ำต้มสุก ประคบททำความสะอาดแผล
ยาต้านไวรัส Acyclovir
กินยาภายใน 48 ชั่วโมงหลังมีอาการนำ
ลดระยะเวลาการเกิดโรค
ลดการแพร่เชื้อ
ลดระยะเวลาเจ็บปวด
ยามีผลข้างเคียงต่อไต
มีประโยชน์น้อยโดยเฉพาะโรคที่อวัยวะเพศ + อาจทำให้เกิดชื้อดื้อยาได้
Monkey Pox
monkeypox virus หายเองได้ ระยะเวลาอการ 2-4 สป.
ติดต่อจากการสัมผัสสารคัดหลั่ง
อาการ
แผลในปาก ตามด้วย ผื่นแดง ตุ่มแดง ตุ่มน้ำ
รอยโรคอยู่ในระยะเดียวกัน
การดูแล
สงสัย
แยกเดี่ยวมีห้องน้ำในตัว
เคสที่เป็น
ประคับประครอง รักษาตามอาการ ความสะอาด ตุ่มแผล
จำเพาะ ไม่มียาต้านไวรัส กักตัว 14-21 วันจนสะเก็ดแผลแห้ง
การป้องกัน
สวมหน้ากากอนามัย
ล้างมือบ่อย ๆ
หลีกเลี่ยงการสัมผัสตุ่มหนอง
หลีกเลี่ยงการสัมผัสสารคัดหลั่ง
กินเนื้อสัตว์ปรุงสุกสะอาด