Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
erysipelas, cellulitis/Herpes zoster/Herpes simplex - Coggle Diagram
erysipelas, cellulitis/Herpes zoster/Herpes simplex
Primary Lesions
Vesicle
- ตุ่มน้ำใสของผิวหนังหรือเยื่อบุ ขนาดไม่เกิน 1 ซม.
Bulla
- ตุ่มน้ำใสของผิวหนังหรือเยื่อบุ ขนาดใหญ่กว่า 1ซม.
Pustule
- vesicle หรือ bulla ที่ภำยในบรรจุด้วยหนอง
การรักษาและการปฏิบัติตัว
- โรคส่วนใหญ่ ไม่รุนแรง + หายเองได้
-
- ถ้ามีไข้ >> เช็ดตัวลดไข้ + กินยา paracetamol
- ถ้ามีแผลในปาก >> ใช้น้ำเกลือกลั้วปาก
-
- แผล << ใช้ผ้า gauze ชุบน้ำเกลือ/ น้ำต้มสุก ประคบทำความสะอาดแผล
ยาต้านไวรัส Acyclovir
- ยาต้านไวรัส acyclovir ไม่สามารถกำจัดเชื้อไวรัสที่ปมประสาทได้
- กินยาภายใน 48 ชั่วโมง หลังมีอาการนำ
-
-
-
-
- มีประโยชน์น้อยโดยเฉพาะโรคที่อวัยวะเพศ + อาจทำให้เกิดเชื้อดื้อยาได้
การป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
- ควรหลีกเลี่ยงปัจจัยกระตุ้น
- ถ้าเริมเป็นซ้ำบ่อย > 6 ครั้งต่อปี หรือ เริมที่เป็นซ้ำอาการรุนแรง หรือ การเป็นซ้ำมีผลลดคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย >> ควรปรึกษาแพทย์เพื่อพิจารณาการกินยาต้านไวรัสทุกวันเพื่อป้องกันเริมกลับเป็นซ้ำ
-
Varicella virus
- เชื้อไวรัสนี้เมื่อเริ่มเข้าสู่ร่างกายทั้งจากการหายใจ หรือการสัมผัสตุ่มน้ำใสโดยตรง จะทำให้เป็นโรคสุกใส
- เมื่อหายจากโรคนี้แล้ว เชื้อจะไปหลบซ่อนอยู่ในปมประสาทของร่างกาย ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้เวลานานหลายปี โดยไม่มีอาการผิดปกติใดๆ
- เมื่อเวลาที่ร่างกายมีภูมิคุ้มกันต่ำกว่าปกติ เช่น อ่อนเพลีย พักผ่อนไม่เพียงพอ ผู้ป่วยสูงอายุ ผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวี หรือผู้ป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับยากดภูมิต้านทาน
- เชื้อที่แฝงตัวอยู่ก็จะแบ่งตัว เพิ่มจำนวนทำให้เส้นประสาทอักเสบ เกิดการปวดตามแนวเส้น ประสาท และปล่อยเชื้อไวรัสออกมาที่ผิวหนังตามแนวเส้นประสาท
อาการ
- ผู้ป่วยจะมีอาการปวดแสบร้อนบริเวณผิวหนัง
- หลังจากนั้น 2-3 วัน มีผื่นแดงขึ้นตรงบริเวณที่ปวด แล้วกลายเป็นตุ่มน้ำใส
- ผู้ป่วยบางรายอาจมีไข้ร่วมด้วย
- ผื่นมักเรียงกันเป็นกลุ่ม หรือเป็น แถวยาวตามแนวเส้นประสาท และจะแตกออกเป็นแผล ต่อมาจะตกสะเก็ด และหายได้เองใน 2 สัปดาห์ และเมื่อแผลหายแล้ว อาจยังมีอาการปวดตามแนวเส้นประสาทได้
ภาวะแทรกซ้อน
- อาการปวดตามแนวเส้น ประสาทหลังการติดเชื้อ พบได้บ่อยในผู้ป่วยที่อายุมากกว่า 50 ปีขึ้นไป บางรายอาจปวดได้นานหลายปี
- การติดเชื้อแบคทีเรียซ้ำเติม ตาอักเสบ แผลที่ กระจกตา และภาวะแทรกซ้อนทางหู เป็นต้น
- ผู้ที่มีภูมิต้านทานต่ำ เช่น ผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวี หรือผู้ป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด โรคงูสวัดอาจเป็นรุนแรงและแพร่กระจายได้
- ภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงแต่พบน้อย เช่น สมองและปอดอักเสบ
-
-
การป้องกันโรคงูสวัด
- ปัจจุบันมีวัคซีนป้องกันโรคงูสวัดแล้ว โดยสามารถลด โอกาสการเกิดโรคงูสวัด หรือหากว่าเกิดการติดเชื้อจะสามารถลดความรุนแรงของอาการงูสวัดและอาการปวดหลังกำรติดเชื้อ แนะนำให้ฉีดในผู้สูงอายุที่มีอายุมากกว่า 60 ปี
วัคซีนงูสวัดสำหรับเด็ก
- วัคซีนงูสวัดที่ฉีดให้เด็ก คือ วัคซีนอีสุกอีใส (Chickenpox vaccine) ซึ่งสามารถลดโอกาสในการเป็นทั้งอีสุกอีใสและงูสวัดของเด็กลงได้เกือบ 90%
- เด็กจะต้องได้รับวัคซีนทั้งหมด 2 เข็ม โดยเข็มแรกมักต้องฉีดตั้งแต่อายุ 12-15 เดือน ส่วนเข็มที่สองฉีดเมื่ออายุ 4-6 ปี
- ผลข้างเคียงของเด็กที่ได้รับวัคซีนอาจมีไข้ มีผื่นในช่วงแรกๆและปวดตามข้อเล็กน้อย
-
-
-
การตรวจร่างกาย
-
- อาจมีหนึ่งรอยโรค หรือ อาจจะมีจำนวนมากกว่าหนึ่งรอยโรคก็ได้โดยจะลามขึ้นอย่างรวดเร็ว และมักจะร่วมกับการมีไข้สูง หรือหนาวสั่น
ไฟลามทุ่ง : Erisypelas
- ผื่นจะเป็นปื้นสีแดงสด ขอบเขตชัดเจนแยกจากผิวหนังปกติได้ชัด
- ผื่นนูนและบวมเป็นมันดูคล้ายผิวเปลือกส้ม
- สีของผื่นอาจจะเปลี่ยนเป็นสีแดงคล้ำมีตุ่มน้ำบนผื่น
- ผื่นจะลามกว้างขึ้นเร็วโดยอาจลามกว้างได้ถึง 2-10 เซนติเมตรต่อวัน
- อาจจะพบรอยโรคสีแดงเป็นเส้นของการอักเสบของหลอดน้ำเหลือง (lymphangitis) ซึ่งเป็นเส้นแดงที่มีทิศทางตามหลอดน้ำเหลืองที่ไปยังต่อมน้ำเหลืองเฉพาะที่บริเวณนั้น อาจพบมีต่อมน้ำเหลืองโตได้
-
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
- CBC, ESR, Gram stain, Culture
การรักษา
- ผู้ป่วยที่มีอาการไม่รุนแรงสามารถเลือกยาปฏิชีวนะในกลุ่มรับประทานได้ยาที่เหมาะสม ได้แก่ dicloxacillin, cephalexin, clindamycin หรือ erythromycin
- ในกรณีของ cellulitis ที่เกิดจากแผลทิ่มแทง (penetrating trauma) หรือมี collection การใช้ยาปฏิชีวนะควรเป็นยาที่ออกฤทธิ์ต่อเชื้อ S.aureus เช่น dicloxacillin, cephalexin หรือ
clindamycin
- ในกรณีที่ผู้ป่วยแพ้ยา penicillin อาจเลือกใช้ยา clindamycin ขนาด 300 มิลลิกรัม วันละ 3 เวลา