Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินอันตรายจากการสัมผัสสารเคมีในโรงงานอุตสาหกรรม - Coggle Diagram
การประเมินอันตรายจากการสัมผัสสารเคมีในโรงงานอุตสาหกรรม
สิ่งคุกคามสุขภาพอนามัย (Health Hazard)
ความร้อน แสง เสียง ความสั่นสะเทือน รังสี ความกดดันบรรยากาศ
แบคทีเรีย ไวรัส ปรสิต เชื้อโรคต่าง ๆ พยาธิ ปัสสาวะ น้ำลายสัตว์
Accident Unsafe action, Unsafe condition
ชั่วโมงการทำงาน ตำแหน่ง ค่าตอบแทน ความเครียด การยศาสตร์ สัมพันธภาพระหว่างบุคคล ท่าทางการทางาน
สารเคมี ฝุ่น ไอระเหย ฟูม ควัน สารฆ่าแมลง แมงกานีส ตะกั่ว
สิ่งคุกคามสุขภาพ (Health Hazard)
ด้านกายภาพ
อุณหภูมิที่สูงหรือต่าเกินไป แสงสว่างที่มากหรือน้อยเกินไป ความดันบรรยากาศ เสียงดัง การสั่นสะเทือน รังสี
ด้านเคมี
ฝุ่น (dust) ก๊าซ (gases) ขี้เถ้า (ash) ละอองไอ (mist) ไอควัน (fume) ควัน (smoke) เขม่า (soot) ตัวทาละลาย (solvents) ไอระเหย (vapor)
ด้านชีวภาพ
แบคทีเรีย (bacteria) เช่น วัณโรค เชื้อรา (parasite) เช่น โรคปอดชาวนา เชื้อไวรัส (virus) เช่น โรคแอนแทรกซ์
ด้านกายจิตวิทยาสังคม
สภาวะแวดล้อมการทางาน งานที่หนักเกินไป บทบาทแต่ละบุคคลในหน่วย ความรับผิดชอบในงาน สัมพันธภาพระหว่างบุคคล ความก้าวหน้าในตาแหน่งงาน การเคลื่อนไหวที่ซ้าซาก (การยศาสตร์) ท่าทางการทางาน
การประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพ
สิ่งคุกคาม (Hazard) หมายถึง สถานการณ์ สารเคมี หรือสิ่งใดๆ ที่มีศักยภาพก่อให้เกิดการบาดเจ็บ การเจ็บป่วย หรือผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน
ความเสี่ยง (Risk) หมายถึง ความเป็นไปได้ที่จะเกิดอันตรายต่อร่างกาย หรือเกิดผลกระทบต่อสุขภาพ จากการสัมผัสกับสิ่งคุกคามต่าง ระดับของความเสี่ยงขึ้นอยู่กับ ๏ โอกาสที่สิ่งคุกคามจะทาให้เกิดอันตราย ๏ ความรุนแรงของอันตรายที่เกิดขึ้น
What is Health Risk Assessment?
การประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพ เป็นกระบวนการศึกษาเพื่อประเมินผลกระทบต่อสุขภาพจากการรับสัมผัสกับสารเคมี มลพิษ หรือผลิตภัณฑ์ โดยใช้ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาถึงอันตรายต่อสุขภาพ ทั้งในสัตว์ทดลองและมนุษย์มาพิจารณา ร่วมกับข้อมูลเกี่ยวกับการได้รับสัมผัสที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงนั้น เพื่อประเมินความน่าจะเป็นของผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อสุขภาพของมนุษย์
ผลของการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพจะถูกใช้เป็นข้อมูลเพื่อช่วยในการตัดสินใจของผู้บริหารหรือผู้มีอานาจหน้าที่ ในการดาเนินการป้องกันหรือลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น โดยใช้มาตรการต่างๆ เช่นการกาหนดมาตรฐาน กลวิธีในการกากับดูแล รวมถึงคาแนะนาต่างๆ
วิธีการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
การประเมินผลกระทบเชิงปริมาณ (Quantitative Health Risk Assessment)
การประเมินความเสี่ยงที่แสดงผลในเชิงตัวเลข ใช้ในการประเมิน ผลกระทบจากมลพิษที่ทราบปริมาณการรับสัมผัสและมีค่าความปลอดภัยหรือค่ามาตรฐานสาหรับใช้ในการคานวณค่าความเสี่ยง
Health Risk Assessment: US EPA (1999)
การประเมินผลกระทบเชิงคุณภาพ (Qualitative Health Risk Assessment)
การประเมินโดยใช้ตารางความเสี่ยงต่อสุขภาพที่ใช้การคาดการณ์ถึงโอกาสและความรุนแรงของผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น
Health Risk Matrix: WHO (2004), กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (2552) และ กระทรวงอุตสาหกรรม (2555)
การประเมินผลกระทบเชิงคุณภาพ (Qualitative Health Risk Assessment)
กลุ่มผู้ปฏิบัติงานที่สัมผัสสารเคมีอันตรายคล้ายกัน (similar exposure group, SEG)
ค่าขีดจากัดสารเคมีที่สัมผัสได้ในสถานที่ทางาน (Occupational Exposure Limit, OEL) อาจกาหนดค่าเป็นค่าขีดจากัดสารเคมีที่สัมผัสได้ในสถานที่ทางาน (Threshold Limit Value, TLV) หรือค่าขีดจากัดสารเคมีที่ยอมให้สัมผัสได้ในสถานที่ทางาน (Permissible Exposure Limit, PEL)
ค่าขีดจากัดความเข้มข้นเฉลี่ยของสารเคมีในอากาศตลอดเวลาการทางาน (Occupational Exposure-Limit Time-Weighted Average, OEL-TWA) ค่าความเข้มข้นเฉลี่ยของสารเคมีในอากาศตลอดเวลาการทางาน โดยทั่วไปคือวันละ 8 ชั่วโมง สัปดาห์ละ 5 วัน
ขีดจากัดของผู้ปฏิบัติงานระยะสั้นๆ (Short-Term Exposure Limit; STEL หรือ OEL-STEL) ค่าความเข้มข้นเฉลี่ยของสารเคมีที่พนักงานสัมผัสได้ไม่เกินวันละ 4 ครั้ง ในระยะเวลาไม่เกินครั้งละ 15 นาที และ แต่ละครั้งต้องห่างกันอย่างน้อย 1 ชั่วโมง
ค่าขีดจากัดสูงสุด (Ceiling, C หรือ OEL-C) ค่าความเข้มข้นสูงสุดของสารเคมีในอากาศที่ผู้ปฏิบัติงานสัมผัสได้ในขณะปฏิบัติงาน
การประเมินผลกระทบเชิงปริมาณ (Quantitative Health Risk Assessment)
Hazard identification (การบ่งชี้ความเป็นอันตราย/การระบุสิ่งคุกคาม) เพื่อบ่งชี้ว่าสารเคมีนั้นๆ มีความเป็นพิษมากน้อยเพียงใดและมีผลต่อสุขภาพมนุษย์หรือไม่ เป็นการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อสรุปว่าสารเคมีที่กาลังสนใจอยู่นั้นมีผลเสียต่อสุขภาพอนามัยหรือไม่ อย่างไร เพื่อนาไปสู่การหาค่ามาตรฐานที่ปลอดภัยในมนุษย์เพื่อให้ได้ค่าอ้างอิง โดยทาการทดลองในสัตว์ทดลอง การหาความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของการสัมผัสกับโอกาสของการเกิดผลเสียด้านสุขภาพ เป็นขั้นตอนการหาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณการได้รับสัมผัสและความรุนแรงของความเป็นพิษ (Dose-response relationship)
Exposure assessment (การประเมินการรับสัมผัส) เป็นขั้นตอนในการประเมินถึงปริมาณการรับสัมผัสสารเคมีเข้าสู่ร่างกายจากแหล่งต่างๆทางเข้าสู่ร่างกาย ๏ การรับประทาน ๏ การหายใจ ๏ ซึมผ่านทางผิวหนัง
•ความเสี่ยงต่อการเกิดผลกระทบต่อสุขภาพจะไม่เกิดขึ้น ถ้าไม่มีการรับสัมผัสกับสารเคมี และความรุนแรง ขึ้นกับปริมาณของสารที่ได้รับ
Risk Characterization
(การอธิบายลักษณะความเสี่ยง) ความเสี่ยงจากสารเคมีชนิดที่ไม่ใช่สารก่อมะเร็ง
(Non-carcinogen) การคานวณค่าความเสี่ยงในรูป Cancer risk