Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความสำเร็จในการทำงานของพยาบาลในวอร์ด - Coggle Diagram
ความสำเร็จในการทำงานของพยาบาลในวอร์ด
การบริหารเวลาคืออะไร และมีประโยชน์อย่างไร
การบริหารเวลาคือการทำงานภายใต้เวลาที่กำหนด มีการจัดสรรเวลาและให้เหมาะสมกับงาน จะทำให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงาน
ประโยชน์
ทำให้งานมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว
ทำให้งานดำเนินงานไปตามขั้นตอนเเละชัดเจนยิ่งขึ้น
ทำให้จัดลำดับความสำคัญของงานได้
ทำให้งานสำเร็จทันเวลา
ทำให้การใช้ชีวิตง่ายขั้น
เข้าใจของคุณค่าของเวลา
ทำให้บุคคลมีเวลามากขึ้น
ควบคุมงานได้ตามวัตถุประสงค์
ปัจจัยที่ช่วยให้การบริหารเวลามีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้นมีอะไรบ้าง
มีจุดยืนตัวเองเรื่องเวลา จงกำหนดกรอบเพื่อกำกับการทำงานทุกอย่างด้วยเวลาเสมอ
ค้นหาวิธีการใหม่ๆจงคิดค้นหาวิธีการใหม่ๆ เพื่อลดเวลา หรือใช้เวลาเท่าเดิมแต่ได้ปริมาณและคุณภาพมากขึ้น
ใส่ใจพัฒนางาน จงพัฒนางานให้ก้าวล้ำเสมอ
มุ่งมั่นสานต่อความคิด จงพยายามสานต่อความคิดให้เป็นจริงและปรากฎเห็นได้ในทางปฏิบัติงาน
จิตใจอยู่กับงาน จงมีสมาธิกับงานเสมอ
ตนและองค์การก้าวหน้าจงสรรสร้างพัฒนาตน องค์การให้มุ่งสู่ความสำเร็จตามที่ทุกฝ่ายปรารถนา
สาเหตุที่ทำให้เสียเวลา
ขาดการมอบหมายงานให้ผู้อื่นทำ
ชอบผ่อนผัน ผัดวันประกันพรุ่งในการทำงาน
ขาดการวางแผนกำหนดวิธีการปฏิบัติของงานที่จะทำล่วงหน้า
ไม่ได้กำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมายในการทำงานที่ชัดเจน
ไม่มีการกำหนดแผนการปฏิบัติงานประจำวันและสัปดาห์
เสียเวลาให้กับงานอื่นๆที่ไม่มีความสำคัญมากเกินไป
ไม่ได้ลำดับความสำคัญก่อนหรือหลังหรือความเร่งด่วนของงาน
การสร้างขวัญกำลังใจ
จะทำให้สร้างเชื่อมั่นกับบุคคลในการทำงาน และเกิดความพึ่งพอใจในการทำงาน ส่งผลให้เกิดขวัญกำลังใจในการทำงานและงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น
รูปแบบปัจจัยแรงจูงใจท่ีมีผลต่อขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติงาน
ด้านความสำเร็จในงานที่ทำของบุคคล โดยได้รับความไว้วางใจ และความเชื่อมั่นจาก ผู้บังคับบัญชา งานที่ได้รับมอบหมายสำเร็จตามเป้าหมาย การแก้ไขปัญหาขณะปฏิบัติงานได้สำเร็จ และการเป็นส่วนหนึ่งของผลงานที่ประสบความสาเร็จ
ด้านการได้รับยกย่องหรือการยอมรับนับถือ ผู้บังคับบัญชารับฟังและยอมรับข้อเสนอแนะ และได้รับความชื่นชมจาก ผู้บังคับบัญชาเกี่ยวกับความสามารถในการทำงาน
ด้านลักษณะของงาน ความพอใจที่ได้รับมอบ งานที่มีลักษณะสร้างสรรค์ และท้าทาย งานท่ีทำต้องใช้ความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์
ด้านความรับผิดชอบ ความภูมิใจและยินดีที่ได้รับผิดชอบงานใหม่ ๆ การปฏิบัติงานในส่วนที่รับผิดชอบได้ตามระยะเวลาที่กำหนด
ด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งงาน นโยบายการพิจารณาเลื่อนขั้นหรือตำแหน่งงานอย่างเป็นธรรม
รูปแบบปัจจัยคําจุน หรือปัจจัยสุขอนามัย
ด้านค่าตอบแทน ระบบสวัสดิการ เงินเดือนค่าจ้างเหมาะสม
ด้านความสัมพันธ์ในหน่วยงาน เพื่อนร่วมงาน ให้การช่วยเหลือซึ่งกันและกันเป็นอย่างดี
ด้านการปกครองบังคับบัญชา ระบบการบริหารงานและการสั่งงานที่ดี ความยุติธรรมในการ ปกครองผู้ใต้บังคับบัญชา (วัชระ ยี่สุ่นเทศ และคณะ, 2562)
การสร้างเสริม
เป็นการเพิ่มสมถรรนะและศักยภาพในตัวบุคคล
ให้กำลังใจการชมเชย และการให้รางวัล
1.การสร้างเสริมและการเสริมแรงคืออะไร
ตอบ การเสริมแรง คือ การทำให้ผู้ทำพฤติกรรมเกิดความพึงพอใจ เมื่อทำพฤติกรรมใดพฤติกรรมหนึ่งแล้ว เพื่อให้ทำพฤติกรรมนั้นซ้ำ ๆ การทำให้ผู้ทำพฤติกรรมเกิดความพึงพอใจทำได้โดยให้ตัวเสริมแรง (Reinforcer) เมื่อทำพฤติกรรมแล้ว (ประทีป จินงี่, 2540)
การเสริมแรงทางบวก : การเสริมแรงทางบวก(Positive Reinforcement) หมายถึง สิ่งของ คำพูด หรือสภาพการณ์ที่ จะช่วยให้พฤติกรรมเกิดขึ้นอีก หรือสิ่งที่ทำให้เพิ่มความน่าจะเป็นไปได้ของการเกิดพฤติกรรม เช่น การชมเชย การให้คะแนน การให้รางวัล
ตัวเสริมแรงที่เป็นสิ่งของ ส่งของ (Material Reinforcers) เป็นตัวเสริมแรงที่มีประสิทธิภาพมาก เป็นอาหาร ของที่เสพได้ และสิ่งของต่างๆ เช่น ขนม ของเล่น เสื้อผ้า เป็นต้น
ตัวเสริมแรงทางสังคม (Social Reinforcers) เป็นคำพูดและการแสดงออกทางท่าทาง ได้แก่การชมเชยการยกย่องการยิ้มเป็นต้น ตัวเสริมแรงทางสังคมต้องมีการวางเงื่อนไขและสามารถ นำไปใช้ในทุกสถานการณ์อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งง่าย สะดวก และประหยัด
ตัวเสริมแรงที่เป็นกิจกรรม (Activity Reinforcers) เป็นการใช้กิจกรรมที่ชอบมากกว่า มาเสริมแรงกิจกรรมที่ชอบน้อยกว่า เช่นถ้าทีมงานใดสามารถให้บริการได้ประทับใจลูกค้าจนมี ลูกค้าเพิ่มขึ้นได้ตามเป้าหมายทีมงานนั้นจะได้ไปเที่ยวต่างประเทศเป็นต้น
ตัวเสริมแรงที่เป็นเบี้ยอรรถกร (Token Reinforcers) เป็นแรงเสริมที่เป็นสิ่งของและ สัญลักษณ์ที่นำไปแลกเปลี่ยนสิ่งที่ต้องการได้ เช่น คะแนน ดาว เพื่อนำไปแลกเปลี่ยนสิ่งที่ต้องการ สิ่งของดังกล่าวเป็นสิ่งที่กินได้ จับต้องได้ และมองเห็นได้ เช่น ขนม ตุ๊กตา กิจกรรมต่างๆ ที่พอใจ
ตัวเสริมแรงภายใน (CovertReinforcers)เป็นตัวเสริมแรงที่ครอบคลุมถึงความคิด ความรู้สึกต่างๆ เช่นความพึงพอใจความสุขความภาคภูมิใจ เป็นต้นใช้ได้ดีในการปรับพฤติกรรม เพื่อควบคุมตนเองและบังคับตนเอง
การเสริมแรงทางลบ การเสริมแรงทางลบ (Negative Reinforcement) หมายถึง การเปลี่ยนสภาพการณ์หรือ เปลี่ยนแปลงบางอย่างก็อาจจะทำให้บุคคลแสดงพฤติกรรมได้ การเสริมแรงทางลบเกี่ยวข้องกับ พฤติกรรมใน 2 ลักษณะ คือ พฤติกรรมหลีกหนี (Escape Behavior) และพฤติกรรมหลีกเลี่ ยง (Avoidance Behavior) เช่น การอ่านหนังสือก่อนสอบเพื่อหลีกเลี่ยงการสอบตก
การเสริมแรง
การชักชวนให้บุคคลทำตามในสิ่งนั้น โดยต้องตอบสนองความต้องการของบุคคลด้วยเช่นกัน และการให้กำลังใจ
การสร้างเสริมพลังสามารถวิเคราะห์ได้เป็น 3 ระดับ ดังนี้
การสร้างพลังระดับบุคคล (Self Empowerment) เป็นความสามารถระดับบุคคลเกี่ยวกับการตัดสินใจอะไรด้วย ตนเองในระดับที่ตนมีความสามารถจะทำได้โดยไม่ต้องรอให้เจ้านายสั่ง และสามารถควบคุมตนเอง โดยเน้นความสามารถของ บุคคลในด้านบวก
การสร้างพลังระดับองค์การ (Organization Empowerment) การบริหารงานเป็นแบบประชาธิปไตย รวมทั้งการ แบ่งปันภาวะผู้นำมีโอกาสในการพัฒนาทักษะ การแบ่งปันข้อมูลข่าวสารและพลังอำนาจ และการใช้กระบวนการตัดสินใจร่วม
การสร้างพลังระดับชุมชน (Community Empowerment) เป็นการประยุกต์ใช้ทักษะการสร้างพลังระดับบุคคล และการสร้างพลังระดับองค์การ รวมทั้งทรัพยการต่างๆ เพื่อให้พบกับความต้องการที่คาดหวัง และโอกาสในการเกิดความร่วม มือของประชาชนในการตัดสินใจของชุมชน และพิจารณาอย่างรอบคอบเมื่อเกิดความขัดแย้งและระยะเวลาของการเกิดความขัดแย้ง
ปัจจัยที่มีผลต่อการทำงาน
เกี่ยวกับเพื่อนร่วมงาน
อุปนิสัยของตัวบุคคล
สิ่งแวดล้อม
พฤติกรรมของผู้บริหาร
ความเครียด
ค่าจ้างและสวัสดิการในการทำงาน
ครอบครัว
ระเบียบ/นโยบายขององค์กร
ทำให้มีภูมิหลังในการทำงาน
โรคประจำตัว
ความหมายของการบันทึก
การบันทึก คือ การจดบันทึกข้อมูลในกระดาษ หรือโซเชียลเพื่อเป็นหลักฐาน การเก็บรวบรวมข้อมูลที่เป็นลายลักษณ์อักษร/ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
การบันทึกที่ดีมีลักษณะ
บันทึกตามความเป็นจริงและไม่มีการปลอมแปลง
มีความชัดเจน และเข้าใจง่าย
3.ทำให้จัดลำดับความสำคัญของงานได้
บันทึกอย่างระบบ
บันทึกตามเวลาจริง
บันทึกโดยไม่ใส่ความคิดเห็นของตนเองลงไป
การบันทึก (ราชบัณฑิตยสถาน) คือข้อความที่จดไว้เพื่อช่วยความทรงจำหรือเพื่อเป็นหลักฐาน ข้อความที่นำมาจดย่อๆ ไว้เพื่อให้เรื่องเดิม
การบันทึกที่ดี จะต้องประกอบด้วย การบันทึกข้อเท็จจริงตามสภาพที่ได้เห็น ได้ยิน รู้สึก ได้กลิ่น สามารถวัดหรือสังเกตได้ ข้อมูลควรเป็นข้อมูลที่ถูกต้อง ชัดเจน มีความสมบูรณ์ เป็นปัจจุบัน เป็นระบบและตามลําดับ
การบันทึกที่น่าเชื่อถือ เมื่อมีการแก้ไขบันทึกหลังจากที่บันทึกแล้ว ให้ขีดเส้นตรงทับที่ข้อความที่บันทึกทันทีและเซ็นชื่อกํากับ ไม่ลบข้อความ ไม่ควรพยายามปิดบังสิ่งที่เกิดขึ้น บันทึกตามกฎการบันทึกในเรื่องนั้นๆ ลง วัน เดือน ปี และลงลายมือชื่อผู้บันทึกทุกครั้ง ไม่ควรบันทึกให้คนอื่น / ผู้อื่นบันทึกแทน (ยุวดี เกตสัมพันธ์, 2556)
มนุษย์สัมพันธ์/ความสัมพันธ์
ความสำคัญ :การมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีจะส่งผลให้มีการทำงานและประสานงานได้ดีและ
มีประสิทธ์ภาพมากขึ้น และทำให้บรรยากาศการทำงานเป็นกันเองมากขึ้น จะทำให้งานบรรลุวัตถุประสงค์ได้มากขึ้น
เทคนิคในการสร้างมนุษย์สัมพันธ์/ความสัมพันธ์ :
การพูดคุยกัน
การแสดงความอ่อนน้อม ถ่อมตน ให้ความเคารพผู้อาวุธโส
รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
เป็นคนที่อารมณ์ดี
ไม่มีอคติต่อผู้อื่น
มีความคิดเชิงบวก
มองโลกในแง่ดี
ยอมรับความคิดเห็นซึ่งกันเเละกัน
ไม่ยึดตัวเองเป็นศูนย์กลาง
เป็นผู้ให้
การนิเทศทางการพยาบาล
การนิเทศทางการพยาบาล
การประเมินผลทางการพยาบาล
การให้ความรู้ การให้คำเเนะนำ และการชี้แนะ เพื่อให้งานดำเนินตามเป้าหมายที่วางไว้
การดูแลในการปฏิบัติคนใดคนหนึ่งในสมาชิกในทีม
เป็นการปรับปรุงหรือหาข้อบกพร่องในการทำงาน
เป็นการช่วยเหลือเพื่อพัฒนาศักยภาพของบุคลากร
มีความสำคัญ :
ช่วยประสานความเข้าใจภายในหน่วยงาน
พัฒนาบุคลากรได้ตามมาตรฐาน
ทำให้บุคลากรในหน่วยได้มีความรอบรู้มากขึ้น
ทำให้พยาบาลมีความมั่นใจเพิ่มมากขึ้น
ผู้รับบริการได้รับการบริการที่มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น
เกิดการปฏิบัติงานได้ทีประสิทธิภาพ
เกิดการทำงานตามเป้าหมาย
เกิดการพัฒนาขององค์มีประสบการไปในทางที่ดีขึ้น
ผู้ที่มีหน้าที่ต้องมีความสามารถอย่างไร และมีวิธีการอย่างไร
มีประสบการณ์ในการทำงาน
มีภาวะในการผู้นำ
มีความรู้ความสามาร
มีมนุษยสัมพันธืที่ดีและเข้าใจผู้อื่น
มีทักษะการสื่อสารที่ดี
มีความสามารถในการวางแผน
มีการจัดการที่ดี
มีความสามาราถในแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี
มีทักษะในการตัดสินใจที่ดี
มีความสามารถในการปฎิบัติการพยาบาลได้ดี
มีไหวพริบที่ดี
• ความหมายของการนิเทศ
การนิเทศทางการพยาบาล เป็นบทบาทอิสระในความรับผิดชอบของพยาบาลวิชาชีพ มีความสำคัญในการควบคุม กำกับดูแลคุณภาพบริการพยาบาลให้เป็นไปตามมาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพ นอกจากนี้การนิเทศทางการพยาบาล ยังเป็นการช่วยหาวิธีให้บุคลากรพยาบาลทำงานได้ดีขึ้น โดยผู้นิเทศจะเป็นผู้ให้ความรู้ ให้คำแนะนำ ให้กำลังใจ และให้การสนับสนุนช่วยเหลือบุคลากรพยาบาลให้ปฏิบัติงานได้อย่างมีคุณภาพและมีความสะดวกในการทำงานมากขึ้น ผู้นิเทศจะทำการพัฒนาบุคลากรพยาบาลให้มีการพัฒนาตนเองเพื่อให้เกิดการพัฒนางาน (อรรถยา อมรพรหมภักดี,2563)
• หลักการนิเทศทางการพยาบาล มีดังนี้ (เกียรติกำจร กุศลและคณะ, 2565)
ศึกษาสายงานการบังคับบัญชา เพื่อให้เกิดความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตนเอง และรู้แนวทางในการรายงานผลได้
ศึกษานโยบายของหน่วยงาน จะทำให้ทราบทิศทางในการดำเนินงานและสามารถทำงานให้บรรลุตามเป้าหมายหรือสอดคล้องกับนโยบายได้
ควรดำเนินการนิเทศตามกระบวนการ 3 ขั้นตอน ได้แก่ การวางแผนงาน ดําเนินการนิเทศงานและประเมินผลการนิเทศ
มีส่วนร่วมในการดำเนินการนิเทศตามกระบวนการ
พัฒนาผู้ได้รับการนิเทศ คำนึงถึงพื้นฐาน ความรู้ ทักษะ ของบุคลากร โดยพัฒนาบุคคลให้เก่งวิชาการ (Barrette, 1968)
• ส่งผลต่อการทำงานภายในหอผู้ป่วยอย่างไรบ้าง
เผอิญ ณ พัทลุง, (2559).
พบว่า พัฒนาสมรรถนะด้านการนิเทศทางการพยาบาล ด้านการใช้กระบวนการพยาบาล ด้านการบันทึกทางการพยาบาล และด้านการพัฒนาความรู้ของบุคลากร โดยการบูรณาการการนิเทศทั้ง 3 ด้านไปด้วยกัน โดยการนิเทศหน้างานแบบมีส่วนร่วมตั้งแต่การรับ-ส่งเวร การตรวจเยี่ยมผู้ป่วย และการประชุมปรึกษาเพื่อทบทวน Case ตรวจสอบเวชระเบียน/ บันทึกทางการพยาบาล ส่วนการนิเทศมาตรฐาน ควรนิเทศเมื่อผู้รับการนิเทศมีกิจกรรมหรือช่วยทำหัตถการสำคัญ การนิเทศสามารถสร้างแรงจูงใจแก่ผู้รับการนิเทศโดยชมเชย ให้กำลังใจและสร้างบุคคลที่เป็นแบบอย่างในการใช้กระบวนการพยาบาล และการบันทึกทางการพยาบาล และพัฒนาผู้ช่วยหัวหน้าหอผู้ป่วยและหัวหน้าเวรให้มีความรู้ และทักษะในการนิเทศทางคลินิก ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพและความปลอดภัยในการดูแลผู้ป่วย
วิธีการจัดการทีม
เป็นการกระจายงานที่มีความเหมาะสมอย่างเท่าเทียมกัน
ทราบจำนวนบุคคลากรในทีม
เตรียมความพร้อมภายในทีมสำหรับการทำงาน
แบ่งหน้าที่ตามความสามารถ
สร้างความร่วมมือในทีมเพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้
ประโยชน์ของการจัดการทีม
เกิดความสามัคคีภายในทีม
งานเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้
เกิดการวางแผนการทำงานที่ดีและเป็นขั้นตอน
ทำให้งานมีประสิทธิภาพสูงสุด
ทำงานได้รวดเร็วมากยิ่งขึ้น
ไม่เกิดกาารทำงานซ้ำซ้อน
ไม่เกิดความขัดแย้งภายในทีม
คนในทีมเกิดความรับผิดชอบภายในทีม
ทำให้ผู้รับบริการได้รับการบริการที่ดี
เกิดสัมพันธภาพที่ดีภายในทีม
กระบวนการบริหารทีม
(เกียรติกําจร กุศลและคณะ, 2565)
การวิเคราะห์ความจําเป็น
การกําหนดวัตถุประสงค์ของทีมงาน
การวางแผนงานร่วมกัน
การสร้างทีมงานที่ดี
เน้นการปฏิบัติงานเป็นทีม
องค์ประกอบของทีม (นิติ ยอดดำเนิน, 2561)
งาน :ในระบบของทีมนั้น ต้อการกำหนดทิศทางชัดเจนว่า การมาร่วมกันทำงานนั้นเพื่อวัตถุประสงค์ใด งานใดเป็นตัวขับเคลื่อน เมื่อมีตัวงานชัดเจนจึงเป็นหน้าที่ที่เราต้องคัดสรรบุคลากรภายใต้งานชิ้นนั้นให้เกิดขึ้น
สมาชิก : สมาชิกของทีมถือเป็นตัวขับเคลื่อนความสำเร็จของทีมที่สำคัญ กล่าวได้อีกว่า ถือเป็นจุดเติมเต็มความสามารถของทีม
ระบบการทำงาน/ระบบการทำงานของทีม : ระบบการทำงานจำเป็นต้องเกิดขึ้นในทุกๆ กระบวนการทำงานของทีม เพื่อให้เกิดขั้นตอน โครงสร้าง และเครื่องมือของการบริหารงานนั้นอย่าชัดเจน