Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ที่มีปัญหาทางจิตและการบำบัดรักษา, Mood Disorder : Depressive,…
การพยาบาลผู้ที่มีปัญหาทางจิตและการบำบัดรักษา
Mood Disorder : Depressive
อารมณ์เศร้าปกติ
เมื่อมีส่ิงเร้าหรือสถานการณ์บางอย่างท่ีทำให้บุคคลไม่สมหวัง
ภาวะเศร้าท่ีเร่ิมมีการเปลี่ยนแปลงอาการและอาการแสดง
การเปลี่ยนแปลงอาการและอาการแสดงในทางสรีระวิทยา
โรคจิตเวชคือโรคซึมเศร้า
พิจารณาตามเกณฑ์ การวินิจฉันโรคทางจิตเวช
พยาธิสภาพการเกิดภาวะซึมเศร้า
ผู้ที่มีภาวะซึมเศร้าพบว่าความผิดปกติเกิดจากการมีกระบวนการดูดกลับของสารสื่อประสาท สมองที่บริเวณ pre-synaptic neuron เกิดข้ึนมากผิดปกติจนปริมาณสารสื่อประสาทท่ีเก่ียวข้องกับอารมณ์ โดยเฉพาะ serotonin ในช่องว่างระหว่างการเช่ือมต่อของเซลล์ประสาท (Synaptic clef) ลดลง ส่งผลให้บุคคลเกิดภาวะซึมเศร้า
อาการและอาการแสดง
ด้านอารมณ์
• เศร้า หงุดหงิด โกรธ เหนื่อย รู้สึกผิด ไร้ค่า
ด้านความคิด
• เช่ืองช้า สมาธิเสีย อยากตาย
ด้านพฤติกรรม
• ความสัมพันธ์กับบุคคลอื่นแย่ลง กิจกรรม ทางสังคมลดลง ร้องไห้ง่าย ทำร้ายตนเอง/ฆ่าตัวตาย
ทางกาย
• นอนไม่หลับ ตื่นเร็ว อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ท้องผูก/ท้องเสีย
แนวทางการประเมิน
คำถาม (2Q) • 1 ข้อขึ้นไปให้ประเมิน 9Q
คำถาม (9Q) • คะแนน 9Q มากกว่า 7 ให้ประเมิน 8Q
คำถาม (8Q) • มากกว่า 17 คะแนน: แนวโน้มฆ่าตัวตายรุนแรง
การรักษา
physical therapies
ECT
Setting limit
medication
Psychotherapy
Cognitive Therapy
Cognitive Behavioral Therapy
Interpersonal Psychotherapy
Brief Dynamic Therapy
Problem-Solving Therapy
Dialectical Behavior Therapy-Based Skills Group: DBT-Based Skills Group
counseling
milieu therapy
การสร้างบรรยากาศท่ีอบอุ่น
ผู้บำบัดควรมีลักษณะจริงใจ เป็นมิตร สม่ำเสมอ
การจัดกิจกรรมบำบัดท่ีเหมาะสม
ปัจจัย
ความผิดปกติของสมดุลชีวเคมีในสมอง
เพศ พบในเพศหญิง > เพศชาย
อายุและช่วงวัย / เผชิญเหตุการณ์ไม่คาดฝัน
พันธุกรรม
เลี้ยงดูจากครอบครัว / การใช้สารเสพติด
Suicide (การฆ่าตัวตาย)
ประเภทของการฆ่าตัวตาย
• suicidethreats
• suicide attempts
• suicidalideation
• suicidegesture
• completed or successful or completed suicides
• premediated •suicide
•ambivalent suicide
• coercive suicide
• false suicide
• suicide risk
การประเมินความเสี่ยงในการฆ่าตัวตาย
ตาม modified SAD PERSONS Scale
แบบประเมินแนวโน้มการฆ่าตัวตาย 8Q
ลักษณะการสัมภาษณ์เพื่อประเมินความเสี่ยงและแนวโน้มการฆ่าตัวตาย
สัมภาษณ์อย่างกระชับ
เสนอความช่วยเหลือและเน้นย้ำความสำคัญในความปลอดภัยของผู้ป่วย
สัมภาษณ์ด้วยท่าทีเป็นมิตรและไม่ตัดสินผู้ป่วย
การพยาบาลบุคคลท่ีมีพฤติกรรมการฆ่าตัวตาย
การประเมินสภาพบุคคลฆ่าตัวตาย
• จาก ผู้ป่วย ด้วยการสังเกต การสัมภาษณ์ , ญาติและบุคคลใกล้ชิด , เจ้าหน้าท่ี , หลักฐานและเอกสารต่างๆ
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
•แบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะแรกและระยาว
การวางแผนทางการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
ตามบทบาท 4 ด้าน
ด้านการป้องกันการฆ่าตัวตาย
การค้นหาด้วยการคัดกรองภาวะเสี่ยง , รณรงค์ป้องกัน, ปรับเปลี่ยนค่านิยม
ด้านการบำบัดรักษาพยาบาล
ดำเนินการโดยร่วมกับผู้ป่วยและทีมสุขภาพแก้ไข ปัญหาท่ีเป็นสาเหตุ
ด้านการส่งเสริมสุขภาพจิต
จัดการเรียนรู้และพัฒนาทักษะชีวิต จัดการความเครียด
ด้านการฟื้นฟูสภาพ
การส่งเสริมให้ครอบครัวมีส่วนร่วมดูแลและสร้างครอบครัวที่อบอุ่น การฝึกให้ผู้ป่วยสามารถแก้ไขปัญหาใช้ชีวิตในสังคมได้
การประเมินผลทางการพยาบาล
• ประเมินว่าผู้ป่วยได้รับการดุแลบรรลุวัตถุประสงค์ตามกำหนดไว้ หรือไม่
นางสาวกัญญารัตน์ สิงห์ธรรม เลขที่ 25 รุ่นที่ 28A